Page 22 - Q8 -
P. 22

21

                    เชน สภาวาดวยความซื่อสัตยและประสิทธิภาพของการตรวจราชการ (Council  of  Inspectors

                    General  on  Integrity  and  Efficiency  :  CIGIE)  ของสหรัฐอเมริกา และฝายประเมินประสิทธิผล
                    (Effective  Performance  Division)  ของกลุมงานปรับปรุงระบบราชการใหมีความทันสมัย
                    (Modernizing Public Service Group) ในสํานักงานของคณะรัฐมนตรีของอังกฤษ เปนตน

                             3) การจัดโครงสรางและระบบในรูปแบบผสม (Mixed Inspection System) ประเทศที่ใช
                    โครงสรางแบบนี้คือ ประเทศเกาหลี เปนรูปแบบที่มีการจัดตั้งหนวยงานกลางหรือคณะกรรมการ
                    ตรวจสอบและตรวจราชการ (Board of Audit and Inspection) ใหมีลักษณะเปนทั้งองคกรตรวจสอบ
                    อิสระภายนอกและกลไกการควบคุมภายในของฝายบริหารเพื่อทําหนาที่ตรวจสอบและตรวจราชการ

                    หนวยงานราชการองคกรปกครองสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ นอกจากนี้ ยังทําหนาที่กํากับดูแล สนับสนุน
                    และประสานการดําเนินงานของผูตรวจราชการประจําหนวยงานตาง ๆ ใหเปนไปในทิศทางและแนวทาง
                    ที่กําหนดไว
                             ศาลยุติธรรมเปนองคกรที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง อันเปนการใชอํานาจทาง

                    ตุลาการซึ่งไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ใหผูพิพากษามีอิสระใน
                    การพิจารณาคดีทั้งปวงโดยปราศจากการแทรกแซง ดังนั้นรูปแบบการตรวจราชการในสวนงานตุลาการ
                    จึงเปนการตรวจราชการภายในองคกรเปนหลัก
                             สําหรับสํานักงานศาลยุติธรรม ซึ่งเปนสวนบริหารงานธุรการเพื่อสนับสนุนการพิจารณา

                    พิพากษาคดีนั้น มีระบบการบริหารราชการที่เปนอิสระไมอยูภายใตบังคับบัญชาของฝายบริหาร โดยมี
                    สํานักตรวจสอบภายในเปนหนวยงานกลางของสํานักงานศาลยุติธรรมที่มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบ
                                                                                  2
                    การบริหารราชการในสวนธุรการของศาลยุติธรรมใหเปนไปโดยเรียบรอย  อันเปนการวางระบบการ
                    ตรวจสอบภายในองคกร นอกจากนี้ตามประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่องการแบงสวน

                    ราชการภายในกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2559 ขอ 5
                    (23) (ฏ) กําหนดใหสํานักศาลยุติธรรมประจําภาค มีอํานาจหนาที่ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ
                    ราชการของสํานักศาลยุติธรรมประจําภาคและหนวยงานในเขตอํานาจอธิบดีผูพิพากษาภาค อันเปน
                    รูปแบบหนึ่งของการกระจายอํานาจการบริหารราชการจากหนวยงานกลางของสํานักงานศาลยุติธรรม

                    มายังสํานักศาลยุติธรรมประจําภาค แตอยางไรก็ตามเมื่อมีการดําเนินการที่เกี่ยวของกับงบประมาณ
                    แผนดิน ในการบริหารราชการจึงตองมีการประสานงานกับกระทรวงการคลังและสํานักงานการตรวจเงิน
                    แผนดินซึ่งเปนหนวยงานหนึ่งในฝายบริหารอยางใกลชิด ซึ่งเปนองคกรภายนอกที่มีอํานาจตรวจสอบ

                    การบริหารดานการเงินและงบประมาณของสํานักงานศาลยุติธรรม  ระบบการตรวจราชการใน
                    ศาลยุติธรรมจึงมีลักษณะคลายคลึงกับการจัดโครงสรางและระบบในรูปแบบผสม







                         2
                           ตามประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่องการแบงสวนราชการภายในกําหนดอํานาจ
                    หนาของสวนราชการในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2559 ขอ 5 (๑๒)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27