Page 83 - Q8 -
P. 83

82

                             2) ในวันตรวจราชการ

                                    (1) ชวงตรวจสํานวน
                                    - อธิบดีผูพิพากษาภาค 2 รองอธิบดีผูพิพากษาภาค 2 ผูพิพากษาหัวหนาศาล
                    ประจําสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 2  เปนผูตรวจสํานวน และจดบันทึกความเห็นลงในแบบบันทึก

                    ขอมูลคดีคางพิจารณาของแตละสํานวนที่ตรวจ
                                    - เจาหนาที่ภาค รับสํานวนที่ตรวจเสร็จแลวมาบันทึกความเห็นของผูตรวจลงในไฟล
                    Excel
                                    - เจาหนาที่ภาค จัดทําสรุปขอมูลความเห็นใหผูตรวจสํานวน เลขานุการศาลยุติธรรม

                    ประจําภาค 2 และ ผูพิพากษาหัวหนาศาลที่รับการตรวจ ทานละ 1 ชุด
                                    - เจาหนาที่ภาค จัดทําไฟลสําหรับนําเสนอขอมูล ในโปรแกรม PowerPoint
                                    (2) ชวงนําเสนอ
                                    อธิบดีผูพิพากษาภาค 2 รองอธิบดีผูพิพากษาภาค 2 ผูพิพากษาหัวหนาศาลประจํา

                    สํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค 2  ซึ่งเปนผูตรวจสํานวน  จะใหความเห็น และขอสังเกตที่พบจากการ
                    ตรวจสํานวน แกผูพิพากษาหัวหนาศาล ผูพิพากษาในศาลที่รับการตรวจ

                    7.2 แนวทางการตรวจสํานวนคดี


                             เนื่องจากการตรวจสํานวนคดีในการตรวจราชการ คดีสวนใหญเปนคดีที่อยูระหวางพิจารณา
                    คดีในศาลชั้นตน ซึ่งหากพบขอสังเกตในชั้นนี้  ผูบริหารศาลสามารถใหคําแนะนําแกผูพิพากษาเจาของ
                    สํานวนและองคคณะเพื่อแกไขได ในการตรวจสํานวนคดีมีขอสังเกตที่สําคัญ ดังตอไปนี้

                             ๗.๒.๑ การตรวจสอบเหตุขัดของในการพิจารณาคดี
                             ปญหาที่พบบอยในการตรวจสํานวคดี เชน
                             ๑) ขอขัดของเกี่ยวกับการสงหมายเรียกพยานที่เพิ่งตรวจพบในวันนัดพิจารณา ทําใหเปนเหตุ
                    เลื่อนคดี  หากตรวจพบเหตุดังกลาวที่อาจทําใหไมสามารถสืบพยานในวันนัดได ควรแนะนําให

                    ดําเนินการใหศูนยประสานงานพยานดําเนินการไปตามขั้นตอนตามมาตรฐานนิเทศงานคดี
                    โดยศูนยประสานงานพยานควรนําเสนอเหตุขัดของดังกลาวใหผูพิพากษาเจาของสํานวนพิจารณามีคําสั่ง
                    โดยเร็ว

                             ๒) การกําหนดวันนัดสืบพยานไวมากเกินความจําเปนที่ตองใชสืบพยาน อาจทําใหการนัด
                    พิจารณาคดีตอเนื่องในระบบตองมีระยะเวลารอการพิจารณาที่คูความตองรอนานเกินความจําเปน หรือ
                    การกําหนดวันนัดสืบพยานไวนอยกวาความจําเปนที่ตองใชในการสืบพยานจริง อาจทําใหเปนเหตุเลื่อน
                    คดีและกําหนดวันนัดแลวเสร็จตองขยายออกไปโดยไมจําเปน  ดังกลาวผูตรวจราชการดานสํานวนคดี
                    ควรตรวจพฤติการณแหงคดีและความจําเปนในการสืบพยานแลวกําหนดวันนัดสืบพยานใหเหมาะสม

                    หากพบวาคดีใดกําหนดระยะเวลาไวไมเหมาะสม ควรใหคําแนะนําใหแกไขโดยกําหนดวันนัดใหม
                             ๓) สาเหตุการนัดพิจารณาคดีตอเนื่องที่ไมแลวเสร็จภายในกําหนดนัด (คดีตกราง) สวนมาก
                    เจาของสํานวนจะกําหนดนัดแบบนัดตอนัดหางกันประมาณ 1 เดือน ขึ้นไป รวมกันประมาณ 3 – 4

                    ครั้ง กวาคดีจะเสร็จ บางครั้งนําคดีเขาระบบตอเนื่องอีกรอบซึ่งไมถูกตอง และไมมีการสอบถามคูความ
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88