Page 88 - Q8 -
P. 88
87
ยืนยันและตรวจสอบได รวมทั้งขอความที่เขียนและหลักฐานเอกสารที่ใชในการอางอิง ในกรณีจําเปนที่
ตองแสดงลักษณะหรือสภาพของสถานที่อาจถายรูปประกอบการรายงานดวยก็ได
๒) ความชัดเจน (Clarity)
หลักในการทําใหรายงานผลการตรวจราชการมีความชัดเจน ควรใชถอยคําที่สุภาพ
มีความชัดเจน เขาใจงาย หลีกเลี่ยงการใชถอยคําที่คลุมเครือ สรางความสับสนใหกับผูอาน หรือคําศัพท
ทางวิชาการที่เขาใจยาก หากจําเปนตองใชควรมีคํานิยามศัพทอธิบายไวดวย สําหรับขอมูลที่ซับซอน
หรือเปนตัวเลขควรจัดทําเปนแผนภูมิ แผนผัง ตารางหรือกราฟเพื่อใหผูอานเขาใจงาย
๓) ความกระชับ (Conciseness)
รายงานผลการตรวจราชการความมีเนื้อหาที่กระชับและเขาใจงาย ในขณะเดียวกันก็ตองให
ขอมูลที่เพียงพอตอผูอานดวย ดังนั้น เนื้อหาในรายงานจึงไมควรตัดทอนใหสั้นเกินไปจนมิไดคํานึงถึงการ
ใหขอมูลที่เพียงพอตอผูอาน ผูจัดทํารายงานตองพิจารณาเลือกตัดทอนถอยคําหรือขอความที่ไมจําเปน
บางสวนออกไป เพื่อใหเนื้อหาสาระในรายงานมีความกระชับและเหมาะสม รวมทั้งควรใหความสําคัญ
กับความตอเนื่องสัมพันธกันของเนื้อหาสาระในรายงานเพื่อปองกันไมใหผูอานเกิดความสับสน
๔) ความสรางสรรค (Criticism)
ในการจัดทํารายงานผลการตรวจราชการ ขอมูลและขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน
ของศาลที่รับการตรวจจะถูกระบุไวชัดเจน ผูตรวจราชการควรเสนอแนะแนวทางแกไขปรับปรุงปญหา
และอุปสรรคตาง ๆ ที่ตรวจพบไวเปนสวนหนึ่งของรายงานดวยเสมอ การใชถอยคําตาง ๆ ในการ
เสนอแนะตองระมัดระวังและมุงเนนไปที่การปฏิบัติงานเปนหลัก ควรมีการใหขอเสนอแนะ
ในเชิงบวก โดยใหขอสังเกตถึงจุดบกพรองที่ตองแกไขเพื่อใหการปฏิบัติงานดีขึ้น ในการใหขอเสนอแนะ
ควรหลีกเลี่ยงการวิพากษวิจารณที่กอใหเกิดผลในทางลบหรือการตําหนิตัวบุคคลมากกวาจะกลาวถึง
การปฏิบัติงาน
๕) จูงใจ (Pursuance)
รายงานผลการตรวจราชการสามารถนําเสนอใหรูปแบบที่กระตุนความสนใจและจูงใจผูอาน
ใหเห็นดวย คลอยตาม และนําไปสูการปฏิบัติได โดยใชภาษาเขียนที่เขาใจงาย ตรงประเด็น และรูปแบบ
ที่นาสนใจ
ตัวอยางรายงานผลการตรวจราชการ ปรากฏตามเอกสารในภาคผนวกทายเลม