Page 91 - Q8 -
P. 91

90

                             ๙.๒.๒ การบริหารราชการศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคผาน

                    คณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาค
                             จากบทบาทและอํานาจหนาที่ของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาคจะเห็น
                    ไดวาคณะกรรมการมีบทบาทที่สําคัญในการบริหารราชการศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาค

                    เปนอยางยิ่ง เนื่องจากศาลในเขตอํานาจอธิบดีผูพิพากษาภาคมีจํานวน ๒๑ ศาล และการบริหารราชการ
                    ภายในศาลขึ้นอยูกับผูพิพากษาหัวหนาศาลซึ่งเปนหัวหนาหนวยงานที่มีอํานาจบริหารและบังคับบัญชา
                    ที่ใกลชิดกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานมากที่สุด ซึ่งการปฏิบัติราชการอาจเกิดปญหาในทางปฏิบัติงานขึ้นได
                    อยูตลอดเวลา ดังนั้น การนําระบบการบริหารราชการศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาค

                    ผานคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมภาคมาใชทําใหผูพิพากษาหัวหนาศาลในภาคตางมีโอกาส
                    แลกเปลี่ยนประสบการณในการบริหารและแนวทางการแกไขปญหา รวมทั้งไดรับคําแนะนําจากอธิบดี
                    ผูพิพากษาภาค รองอธิบดีผูพิพากษาภาค ผูพิพากษาหัวหนาศาลประจําสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค
                    ที่ผานประสบการณในการบริหารศาลมาแลว ในบางกรณีอาจมีความจําเปนตองการมีการออกคําแนะนํา

                    หรือระเบียบของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาคใหมีแนวปฏิบัติเปนไปในแนวทาง
                    เดียวกันก็ได
                             ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรม
                    ในสวนภูมิภาค (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ กําหนดใหมีการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรม

                    ประจําภาค ณ สถานที่ตั้งอธิบดีผูพิพากษาภาคสองเดือนตอหนึ่งครั้ง โดยตองมีอนุกรรมการมาประชุม
                                                                                      24
                    ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนอนุกรรมการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม หรืออาจใชวิธีการ
                    ติดตอสื่อสารดวยเทคโนโลยีที่สามารถถายทอดเสียงหรือทั้งภาพและเสียงไดอยางตอเนื่อง ซึ่งทําให
                                                               35
                    อนุกรรมการไมจําตองปรากฏตัวในที่ประชุมดวยก็ได  ในการประชุมนั้นเลขานุการศาลยุติธรรมประจํา
                    ภาค และผูอํานวยการประจําสํานักอํานวยการประจําภาคซึ่งเปนเลขานุการและผูชวยเลขานุการ
                    คณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาค มีหนาที่รวบรวมประเด็นปญหาที่พบจากการตรวจ
                    ราชการในศาลตาง ๆ กําหนดเปนวาระการประชุมเพื่อนําเสนอตอผูบริหารศาลใหไดมีโอกาสแลกเปลี่ยน
                    และแสดงความคิดเห็น ตลอดจนแจงผลการดําเนินการปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูตรวจ

                    ราชการไปแลวหรือไม อยางไร ในโอกาสแรกที่มีการประชุมคณะอนุกรรมการหลังจากตรวจราชการแลว
                    เสร็จ และเมื่อคณะอนุกรรมการมีความเห็นอยางไรแลว ใหดําเนินการภายในการกํากับของ
                    คณะอนุกรรมการตอไป








                          2
                             ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวน
                    ภูมิภาค (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ ๓
                          3
                             ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรมในสวน
                    ภูมิภาค (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ ๔/๑
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96