Page 89 - Q8 -
P. 89

88

                                                          บทที่ 9

                                                 การติดตามและประเมินผล


                    ๙.๑ หลักการติดตามและประเมินผล


                             การติดตามและประเมินผล (Monitoring  and  Evaluation)  เปนคําที่มักจะใชควบคูกัน
                    การติดตามและประเมินผลจะชวยใหผูบริหารทราบวาการดําเนินงานเปนไปตามแผนหรือไมมีความ
                    กาวหนา  มีปญหาอุปสรรคหรือไม เจาหนาที่ผูปฏิบัติจะไดแกไขปญหาอุปสรรคเหลานั้น และปองกัน
                    ปญหาที่จะเกิดขึ้นตอไป

                             การติดตาม (Monitoring) และ การประเมิน (Evaluation) เปนกระบวนการ ที่แตกตางกัน
                    มีจุดหมายไมเหมือนกัน แตกระบวนการทั้งสองมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน และเมื่อนําแนวคิดและ
                    หลักการการติดตามและประเมินผลมาประสานใชดวยกันอยางเหมาะสม จะชวยใหทั้งผูบริหาร  และ
                    ผูปฏิบัติสามารถกํากับ ทบทวน และพัฒนางานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป ดังนั้น เมื่อ

                    ผูตรวจราชการของสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาคมีการใหคําแนะนําแกเจาหนาที่ผูปฏิบัติราชการ
                    ใหดําเนินการแกไข ปรับปรุง เปนประการใดแลว จึงควรมีการกําหนดมาตรการในการติดตามและ
                    ประเมินผลการแกไข ปรับปรุงการดําเนินการดังกลาวในภายในระยะเวลาและวิธีการที่เหมาะสม
                    โดยอาจเปนการติดตามโดยการโทรศัพทสอบถามผลการปรับปรุงแกไข หรือสั่งการใหเจาหนาที่

                    ที่เกี่ยวของรายงานผลการดําเนินการแกไข หรือผูบริหารศาลอาจเลือกใชวิธีการติดตามผลการปรับปรุง
                    แกไขผานการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาคซึ่งจะไดกลาวถึงในรายละเอียด
                    ตอไป


                    ๙.๒ การติดตามและประเมินผลผานการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาค

                             ๙.๒.๑ บทบาทและอํานาจหนาที่ของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาค

                             ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการบริหารราชการศาลยุติธรรม
                    ในสวนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ ๓ กําหนดวาในสวนภูมิภาคใหมีคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
                    ประจําภาคภาคละหนึ่งคณะ เรียกชื่อยอวา อ.ก.บ.ศ.ภาค ประกอบดวย
                             ๑) อธิบดีผูพิพากษาภาคเปนประธานอนุกรรมการ
                             ๒) รองอธิบดีผูพิพากษาภาคเปนอนุกรรมการ

                             ๓) ผูพิพากษาหัวหนาศาลประจําสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาคเปนอนุกรรมการ
                             ๔) ผูพิพากษาหัวหนาศาลทุกศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคเปนอนุกรรมการ
                             ใหเลขานุการศาลยุติธรรมประจําภาคเปนเลขานุการ และใหผูอํานวยการสํานักศาลยุติธรรม

                    ประจําภาคเปนผูชวยเลขานุการ
                             คณะอนุกรรมการมีอํานาจหนาที่ในการกํากับดูแลการบริหารราชการศาลยุติธรรมที่เกี่ยวกับ
                    งานบริหารราชการและงานธุรการของศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคใหเปนไปตาม
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94