Page 87 - Q8 -
P. 87

86

                             ในทางปฏิบัติ เมื่อผูตรวจราชการในสวนหรือกลุมงานตาง ๆ และอธิบดีผูพิพากษาภาค หรือ

                    ผูพิพากษาที่ไดรับมอบหมายตรวจสํานวนคดีเสร็จเรียบรอยแลว ใหนําบันทึกผลการตรวจราชการ
                    มานําเสนอใหแกศาลที่รับการตรวจทราบผลการตรวจ โดยการนําเสนอควรเปนการนําเสนอแยกเปน
                    ๒ สวน ดังนี้

                             สวนแรก เปนการนําเสนอใหผูพิพากษาหัวหนาศาลและคณะผูพิพากษาในศาลทราบผล
                    การตรวจในสวนสํานวนคดีและขอแนะนําตาง ๆ ซึ่งอาจมีการใหคําแนะนําและขอสังเกตในทางเนื้อหา
                    ของคดีตามความเหมาะสม และเนื่องจากการใหคําแนะนําผลการตรวจในสวนของสํานวนคดีเปนเนื้อหา
                    ในทางตุลาการ ผูเขารวมรับฟงผลการตรวจราชการในสวนนี้จึงควรมีเฉพาะขาราชการตุลาการเทานั้น

                             ในสวนที่สอง เปนการนําเสนอใหผูพิพากษาหัวหนาศาล ผูอํานวยการประจําศาล หัวหนา
                    สวนหรือกลุมงาน และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทราบผลการตรวจในสวนของงานธุรการ ซึ่งอาจมีผูพิพากษา
                    ที่ไดรับมอบหมายเขารวมประชุมรับฟงผลการตรวจราชการในสวนนี้ดวยก็ได
                             หากศาลใดไดรับขอแนะนําใหแกไข ปรับปรุงการดําเนินการใด ๆ ในการตรวจราชการ

                    จะตองรายงานผลการปฏิบัติตามคําแนะนําใหสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาคทราบภายใน ๓๐ วัน
                    หลังจากไดรับรายงานผลการตรวจราชการแลว เวนแตอธิบดีผูพิพากษาภาคมีคําสั่งกําหนดระยะเวลาไว
                    โดยเฉพาะ


                    ๘.๒ การนําเสนอรายงานเปนลายลักษณอักษร

                             ๘.๒.๑ การนําเสนอรายงานในระหวางตรวจราชการ
                             ในระหวางการตรวจราชการยังไมเสร็จสิ้น  ผูตรวจราชการอาจตรวจพบปญหาหรือ

                    จุดบกพรองบางอยางในการปฏิบัติงานที่จําเปนตองรายงานใหผูบริหารทราบโดยเรงดวน เชน ตรวจพบ
                    เงินคางจายใหแกคูความที่มีความผิดปกติ จึงตองมีการจัดทํารายงานในรูปของการบันทึกสรุปปญหา
                    ที่ตรวจพบในเวลาที่ตรวจพบและนําเสนอตอผูบริหาร การรายงานในกรณีนี้ใหแจงใหผูพิพากษาหัวหนา
                    ศาลที่รับการตรวจทราบและกําหนดเวลาในการแกไขปญหาเพื่อผูตรวจราชการจะไดติดตามการแกไข

                    ปญหาในครั้งตอไป รายงานนี้จะเปนสวนหนึ่งของรายงานผลการตรวจราชการภายหลังการตรวจ
                    ราชการเสร็จสิ้นแลว
                             ๘.๒.๒ การนําเสนอรายงานเมื่อตรวจราชการเสร็จสิ้น

                             เปนการจัดทํารายงานเปนลายลักษณอักษรหลังจากตรวจราชการเสร็จสิ้นแลว เนื้อหาใน
                    รายงานเปนการสรุปผลการตรวจราชการ เสนอความคิดเห็น ขอเสนอแนะที่ไดผานการกลั่นกรองและ
                    วิเคราะหแลว รวมทั้งการใหขอเท็จจริงที่ตรวจพบในการตรวจราชการ ดังนั้น ผูตรวจราชการที่ไดรับ
                    มอบหมายมีหนาที่จัดทําบันทึกสรุปผลการตรวจราชการเพื่อเสนอใหประธานศาลฎีกา  เลขาธิการ
                    สํานักงานศาลยุติธรรม และผูพิพากษาหัวหนาศาลที่ไดรับการตรวจราชการทราบ โดยรายงานการตรวจ

                    ราชการ ควรประกอบไปดวยลักษณะดังตอไปนี้
                             ๑) ความถูกตอง (Accuracy)
                             ขอมูลที่ไดจากการตรวจราชการเปนขอมูลที่สําคัญตอหนวยงาน และมีผลตอการพัฒนาและ

                    ปรับปรุงหนวยงาน ดังนั้น ขอมูลตาง ๆ ที่ปรากฏในรายงานตองถูกตองและตรงกับขอเท็จจริง สามารถ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92