Page 60 - รายงานประจำปี 2563
P. 60

คำาวินิจฉัยชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ ๔๘/๒๕๖๓                      ศาลทหารกรุงเทพ

                                                                              ศาลทรัพย์สินทางปัญญา

                                                                      และการค้าระหว่างประเทศกลาง



           พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ

           และวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙

           พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘



                                                                       ึ
                                                                �
                                           ื
                  อัยการศาลทหารกรุงเทพ ย่นฟ้อง พลทหาร ณ. จาเลย ซ่งเป็นทหารกองประจาการ สังกด
                                                                                                   ั
                                                                                         �
           กองพันทหารราบที่ ๓ กรมทหารราบที่ ๔ กองพลทหารราบที่ ๔ กองทัพบก ว่าได้กระท�าความผิดอาญา
                               ึ
                     ื
                       �
                                       ี
                                                                                      ื
                                                                                        ี
                                           ื
                                                                  ื
           ฐานมีไว้เพ่อจาหน่ายซ่งสินค้าท่มีเคร่องหมายการค้าปลอมเคร่องหมายการค้าของผู้อ่นท่ได้จดทะเบียน
           ไว้แล้ว ในราชอาณาจักร ขอให้ลงโทษตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๑๑๐
                                    ี
                                           �
           มีปัญหาต้องวินิจฉัยว่าคดีน้อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลทหารหรือศาลยุติธรรม  เห็นว่า
                               �
           หลักการพิจารณาเขตอานาจของศาลทหารในเวลาปกติท่ยึดหลักเขตอานาจศาลเหนือตัวบุคคลผู้กระทาผิด
                                                           ี
                                                                      �
                                                                                                 �
           ซึ่งหากปรากฏว่าจ�าเลยเป็นบุคคลที่อยู่ในอ�านาจศาลทหารตามมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติธรรมนูญ
           ศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ในขณะกระท�าความผิดอาญา จะเป็นคดีที่อยู่ในอ�านาจของศาลทหารตามมาตรา
           ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ นั้น เป็นหลักการพิจารณาเขตอ�านาจศาลทหาร
                                                         ั
                                �
                                         �
                                                               ี
           ในกรณีท่มีการฟ้องว่าจาเลยกระทาความผิดอาญาท่วไป ท่มิได้มีกฎหมายบัญญัติให้คดีอาญาน้นอยู่ใน
                                                                                              ั
                   ี
                                         ื
           อานาจพิจารณาพิพากษาของศาลอ่นใดโดยเฉพาะ เม่อปรากฏว่า ภายหลังจากพระราชบัญญัติธรรมนูญ
            �
                                                         ื
                                                                    ั
           ศาลทหาร พ.ศ. ๒๔๙๘ ใช้บังคับ มีการตราพระราชบัญญัติจัดต้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้า
                                                                                                  ึ
           ระหว่างประเทศและวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่งม      ี
           เจตนารมณ์ให้คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศซ่งเป็นคดีท่มีลักษณะพิเศษแตกต่าง
                                                                               ี
                                                                      ึ
           จากคดีอาญา และคดีแพ่งท่วไป ได้รับการพิจารณาโดยผู้พิพากษาซ่งมีความรู้และความเข้าใจในเร่อง
                                                                       ึ
                                                                                                  ื
                                    ั
                                                                                ี
             ี
           เก่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ โดยมีบุคคลภายนอกท่มีความรู้และความเข้าใจ
               ื
           ในเร่องดังกล่าว  เข้ามาร่วมพิจารณาและพิพากษาคดีด้วยตามเหตุผลท้ายพระราชบัญญัติดังกล่าว
           โดยมาตรา ๗ บัญญัติว่า “ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศมีอ�านาจพิจารณาพิพากษา
                                                                                             ี
           คดีดังต่อไปน้ (๑) คดีอาญาเก่ยวกับเคร่องหมายการค้า ลิขสิทธ์และสิทธิบัตร” อันเป็นกรณีท่กฎหมาย
                                                                   ิ
                                              ื
                                      ี
                       ี
           กาหนดศาลท่มอานาจพจารณาพิพากษาคดประเภทหนงประเภทใดไว้โดยเฉพาะ และเป็นบทบัญญัติท             ่ ี
             �
                          �
                                ิ
                         ี
                                                           ึ
                       ี
                                                           ่
                                                 ี
                                                                                         ิ
                         ื
                                                                   ื
                                                          ี
           ตัดอานาจศาลอ่นไม่ให้พิจารณาพิพากษาคดีอาญาเก่ยวกับเคร่องหมายการค้า ลิขสิทธ์และสิทธิบัตร
               �
           เมื่อคดีนี้ โจทก์ยื่นฟ้องจ�าเลยซึ่งแม้จะเป็นบุคคลที่อยู่ในอ�านาจศาลทหารในขณะกระท�าความผิด แต่เมื่อ
                 ื
           โจทก์ย่นฟ้องว่าจาเลยกระทาความผิดอาญาเก่ยวกับเคร่องหมายการค้าโดยมีคาขอให้ลงโทษจาเลยฐานม    ี
                                                                                           �
                                                   ี
                                                           ื
                                   �
                                                                              �
                          �
           ๕๘    รายงานประจำาปี ๒๕๖๓
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65