Page 203 - Liver Diseases in Children
P. 203

ไวรัสตับอักเสบ   193




              pthaigastro.org
             กำรปลูกถ่ำยตับ                                (universal immunization) อุบัติการณ์ของมะเร็งตับ
                        ี
                  ข้อบ่งช้ของการปลูกถ่ายตับในเด็กที่ติดเช้อ   ชนิด  HCC  ในเด็กและวัยรุ่นลดลงร้อยละ  70 30
                                                      ื
             HBV ได้แก่ ตับวายเฉียบพลันและตับแข็ง พบการ    ตารางการฉีดวัคซีนมาตรฐาน คือ แรกเกิด (ภายใน
             กลับมีอาการโรค (recurrence) หลังปลูกถ่ายตับได้  12-24 ชั่วโมงหลังเกิด) อายุ 1-2 และ 6 เดือน ใน

             บ่อยในรายที่เป็นตับแข็ง เนื่องจากมี HBV อยในอวัยวะ  ประเทศไทยใช้วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน
                                                ู่
             อื่นนอกตับด้วย จึงต้องให้ lamivudine และ HBIG   ตับอักเสบบี (combined DTP-HB) ดังนั้นตารางการ

             เพื่อป้องกันการกลับมีอาการโรคในตับที่ปลูกถ่าย  ฉีดวัคซีนจึงเป็นวัคซีนป้องกัน HBV (monovalent)
                                                           ตอนแรกเกิด วัคซีนรวม (combined DTP-HB)
             กำรรักษำในกลุ่มภูมิคุ้มกันบกพร่องจำกยำ        ที่อายุ 2, 4 และ 6 เดือน ส่วนทารกที่มีแม่เป็นพาหะ

                  ควรตรวจคัดกรอง HBV ก่อนเริ่มการรักษาใน   HBV นอกเหนือจากวัคซีนดังกล่าวมาแล้ว ควรได้รับ

             เด็กที่จ�าเป็นต้องได้รับยาเคมีบ�าบัด  สเตียรอยด์     hepatitis B immune globulin (HBIG) ภายใน 12
             rituximab หรือ monoclonal antibodies รายที่มี  ชั่วโมงหลังเกิด และต้องได้รับวัคซีน monovalent
             ผลเลือดเป็นลบควรฉีดวัคซีนป้องกัน ส่วนรายที่เป็น   เพิ่มอีก 1 ครั้งที่อายุ 1 เดือน ในทารกที่มีแม่เป็น

             CHB หรือตรวจไม่พบ HBsAg แต่ตรวจพบ anti-       พาหะ HBV ควรตรวจ HBsAg และ anti-HBs ใน
             HBc และ HBV DNA ควรได้รับยากลุ่ม NAs ใน       ช่วงอายุ 9-12 เดือน เพ่อประเมินการติดเช้อหรือ
                                                                                 ื
                                                                                                 ื
                 ่
             ช่วงทีได้รับยากดภูมิคุ้มกันดังกล่าวมาแล้ว โดยให้   การมีภูมิคุ้มกัน การศึกษาของศูนย์เช่ยวชาญฯ ใน
                                                                                           ี
             ต่อเนืองไปจนอย่างน้อย 6 เดือนหลังหยดยากด      ทารกที่แม่ไม่เป็นพาหะ  HBV  พบว่าวัคซีนรวมมี
                 ่
                                                 ุ
                        ื
             ภูมิคุ้มกันเพ่อป้องกัน  HBV  reactivation  ยา     ประสิทธิภาพดีเท่ากับวัคซีนชนิด monovalent 31
             lamivudine มีประสิทธิภาพดีในรายที่มีระดับ HBV      ระดับ anti-HBs ที่มากกว่า 10 ไอยู/ลิตร เป็น
             DNA ต�่า (น้อยกว่า 2,000 ไอยู/มล.) และได้รับยา   ระดับท่สามารถป้องกันการติดเช้อได้ (protective
                                                                                       ื
                                                                 ี
                            ั
             กดภูมิคุ้มกันระยะส้น ส่วนผู้ป่วยที่มีระดับ HBV DNA  level) โดยทั่วไปวัคซีนป้องกัน HBV สามารถกระตุ้น
             สูง หรือต้องได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นเวลานาน ควร  ให้สร้างภูมิคุ้มกันได้ดี  ยกเว้นในผู้ที่มีภูมิคุ้มกัน
             ได้รับยา NAs ที่มี high genetic barrier ต่อการ  บกพร่องหรือท�า dialysis ภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นอยู่ได้

             ดื้อยา ได้แก่ entecavir หรือ tenofovir        นาน ยังเป็นที่ถกเถียงกันในเรื่องความจ�าเป็นในการ
                                                                             ื
             กำรป้องกัน                                    ฉีดวัคซีนกระตุ้น เน่องจากในเด็กโตหรือวัยรุ่นมัก
                  วัคซีนป้องกัน HBV มีประสิทธิภาพดี ช่วยลด  ตรวจไม่พบ  anti-HBs  ยง  ภู่วรวรรณและคณะ

                                ื
             ความชุกของการติดเช้อทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย   รายงานประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกัน HBV ใน
             ดังกล่าวมาแล้ว นอกจากนี้ยังเป็นวัคซีนชนิดแรกที ่  ระยะยาว โดยติดตามอาสาสมัครที่มีแม่เป็นพาหะ
                                                                                    32,33
             สามารถป้องกันการเป็นมะเร็ง ข้อมูลจากประเทศ    HBV และมี HBeAg เป็นบวก  พบว่าเมื่อติดตาม
             ไต้หวันพบว่าหลังจากมีการฉีดวัคซีนให้ทารกทุกคน   อาสาสมัครไปประมาณ 20 ปี ร้อยละ 64 ยังคงมี
                                                                                                  ื
                                                                                                  ้
                                                                                         ั
                                                           anti-HBs ในระดับที่สามารถป้องกนการติดเชอได้
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208