Page 206 - Liver Diseases in Children
P. 206

196      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
            failure ควรแนะน�าให้ตรวจคัดกรองสมาชิกในครอบครัว  ศึกษานี้ยืนยันประสิทธิภาพที่ดีของ HBIG และวัคซีน
            เพื่อระวัง horizontal transmission ส่วนสมาชิกที่  ในการลดการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก ซึ่งไม่แตกต่างจาก
            ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคควรแนะน�าให้ฉีดวัคซีน      การให้แม่กินยา TDF ร่วมด้วย

                 - การติดเชื้อ HBV ชนิดที่มีการกลายพันธุ์   ไวรัสตับอักเสบดี 1
            (mutation) ในต�าแหน่ง “a” determinant (escape      ไวรัสตับอักเสบดี (hepatitis D virus, HDV)
                                       ึ
                                 ี
            mutant) ภูมิคุ้มกันโรคท่สร้างข้นหลังได้รับวัคซีน   หรือ delta virus เป็นไวรัสที่ไม่สมบูรณ์ ต้องอาศัย
                                           ื
            และ HBIG ไม่สามารถป้องกันการติดเชอชนิด escape   HBsAg ในการติดเชื้อ จึงมีการติดต่อเหมือน HBV
                                           ้
            mutant ยง ภู่วรวรรณและคณะรายงานเด็กที่ติดเช้อ   แต่พบ vertical transmission น้อยมาก มีการศึกษา
                                                     ื
            HBV จากแม่ที่มี HBeAg เป็นบวกจ�านวน 11 คน     แม่ที่ติดเช้อ HBV ร่วมกับ HDV จ�านวน 22 คน และ
                                                                   ื
            พบมีการติดเชื้อชนิด escape mutant 2 คน 38     ทารกจ�านวน 36 คนพบว่าไม่มีเด็กที่ติดเช้อ HDV
                                                                                              ื
                 นอกเหนือจากการให้ HBIG และวัคซีนแก่                                            40

            ทารกแล้ว การให้ยาต้านไวรัสแก่แม่ที่มีปริมาณเชื้อ   จากแม่ แต่พบเด็กติดเชื้อ HBV จ�านวน 1 คน พบ
                                                                           ู
                                                          ความชกของ HDV สงในประเทศแถบตะวันออกกลาง
                                                                ุ
                                                     ื
            HBV ในเลือดสูงระหว่างตั้งครรภ์ช่วยลดการติดเช้อ
            จากแม่สู่ลูกได้เพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2560 European   รอบ ๆ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เอเชียกลาง หมู่เกาะ
                                                                             41
            Association for the Study of the Liver (EASL)   แปซิฟิก และอเมริกาใต้  ศูนย์เชี่ยวชาญฯ ได้ท�าการ
            แนะน�าให้ตรวจ HBV DNA หรือ HBsAg ในไตรมาส     ศึกษาในผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดด�า

            แรกของการตั้งครรภ์ ถ้ามีระดับ HBV DNA มากกว่า   (intravenous drug users) ที่มี HBsAg เป็นบวก
            200,000 ไอยู/มล. หรือระดับ HBsAg  มากกว่า 4   จ�านวน 55 คน พบ anti-HDV เป็นบวกจ�านวน 12 คน

            log 10 ไอยู/มล. ให้รักษาด้วย tenofovir disoproxil   (ร้อยละ 21.8) และพบ HDV RNA เป็นบวกจ�านวน
            fumarate (TDF) ตั้งแต่อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์  8 คน โดยทั้งหมดเป็นจีโนไทป์ 1 42
                                                                                                    ื
                                                                       ื
            จนถึง 12 สัปดาห์หลังคลอด เพ่อลดปริมาณเช้อ          การติดเช้อ HDV เกิดได้ 2 รูปแบบ คือ ติดเช้อ
                                         ื
                                                     ื
                                                                                                 ื
                                                                                                    ้
                                                                                                    �
                        24
            HBV ในเลือด  ทารกยังสามารถกินนมแม่ได้ถ้าแม่   พร้อมกับ HBV เรียกว่า coinfection หรือติดเช้อซา
                                                                                               ื
            กินยา TDF อย่างไรก็ตามประเทศไทยมีการศึกษาใน   เติม (superimpose infection) ในรายที่ติดเช้อ HBV
                                                                                           ี
                                                            ื
                                                                                   43
            หญิงตั้งครรภ์ที่มีปริมาณ HBV DNA สูงจ�านวน 294   เร้อรัง เรียกว่า super-infection  ในรายท่ติดเชื้อแบบ
                    ้
            คนโดยใหกิน TDF หรือยาหลอกตั้งแต่อายุครรภ์ 28   coinfection มีระยะฟักตัวของโรคประมาณ 3-7
            สัปดาห์จนถึง 2 เดือนหลังคลอด ทารกได้รับ HBIG   สัปดาห์ ผู้ป่วยมักมีอาการทางตับอย่างเฉียบพลันคล้าย
                                                                  ื
            เมื่อแรกเกิด และวัคซีน 5 ครั้งที่แรกเกิด อายุ 1, 2,   การติดเช้อไวรัสตับอักเสบอื่น ๆ และหายเองได้ ส่วน
                                                                 ื
            4 และ 6 เดือน ผลการศึกษาพบว่า ทารกในกลุ่มที่  ผู้ที่ติดเช้อแบบ super-infection มักมีอาการรุนแรง
                                                                                 ื
                                                                                                   41
                                   ื
            แม่ได้รับยาหลอกมีการติดเช้อ (ยืนยันด้วยการตรวจ  และกลายเป็นตับอักเสบเร้อรังถึงร้อยละ 70-90
                                                             ี
            พบ HBV DNA เมื่อทารกอายุ 6 เดือน) ร้อยละ 2  ผู้ท่ติดเชื้อ HDV เรื้อรังมีโอกาสเกิดตับแข็งสูงถึง
                           ื
                                         ั
                                               39
                           ้
                                                                               ี
            แต่ไม่พบการติดเชอในทารกที่แม่ได้รบ TDF  ผลการ  รอยละ 70 และมีความเส่ยงต่อการเป็น HCC
                                                           ้
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211