Page 198 - Liver Diseases in Children
P. 198
188 โรคตับในเด็ก
pthaigastro.org
ี
่
ตารางท 10.2 การแปลผลการตรวจเลือดทางภูมิคุ้มกันวิทยาการติดเช้อไวรัสตับอักเสบบี (ดัดแปลงจาก
ื
เอกสารอ้างอิงที่ 2)
HBsAg Anti-HBs Anti-HBc Anti-HBc HBeAg Anti-HBe HBV ภาวะ
(>10 ไอยู/ลิตร) IgG IgM DNA*
+ – + ++ + – +++ ติดเชื้อเฉียบพลัน
– – + + – – + Seroconversion window หลังติดเชื้อ
เฉียบพลัน
– +/– + – – +/– – หายจากการติดเชื้อ
– + – – – – – มีภูมิคุ้มกันจากวัคซีน
+ – + +/– + – ++++ HBeAg-positive chronic HBV
infection หรือ
HBeAg-positive chronic hepatitis B
+ – + +/– – + ++/+++ HBeAg-negative chronic hepatitis B
+ – + – – + + HBeAg-negative chronic HBV
infection
– – + – – +/– + Occult HBV infection
*ระดับ HBV DNA : – ตรวจไม่พบ คือ น้อยกว่า 20 ไอยู/มล.; + คือ น้อยกว่า 2,000 ไอยู/มล.; ++ คือ
2,000-20,000 ไอยู/มล.; +++ คือ มากกว่า 20,000 ไอยู/มล.; ++++ คือ มากกว่า 200,000 ไอยู/มล.
ผู้ป่วยอาจเข้าสู่ระยะที่ 2 (HBeAg-positive ตับแข็งน้อยถ้ายังอยู่ในระยะที่ 3 อาจเกิด HBsAg loss
chronic hepatitis B) หลังจากอยู่ในระยะที่ 1 เป็น และ/หรือ seroconversion (คือ ตรวจพบ anti-HBs)
เวลานานหลายปีซึ่งมักพบในการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก ได้เองประมาณร้อยละ 1-3 ต่อปี ซึ่งมักพบในผู้ที่มี
ื
้
ถ้าติดเช้อตอนเป็นผู้ใหญ่จะเข้าสู่ระยะนีได้เร็ว ใน HBsAg ในเลือดน้อยกว่า 1,000 ไอยู/มล.
ระยะที่ 2 ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันก�าจัดไวรัสที่อยู่ใน ผู้ที่อยู่ในระยะที่ 4 ส่วนใหญ่มักพบเชื้อที่มีการ
เซลล์ตับ (immune reconstitution) ผู้ป่วยจึงมีตับ กลายพันธุ์ของยีนบริเวณ precore และ/หรือ basal
อักเสบ หลังจากระยะที่ 2 ผู้ป่วยอาจเกิด HBeAg core promoter ท�าให้ไม่มีการสร้าง HBeAg ซึ่งระยะนี ้
seroconversion (คือ ตรวจพบ anti-HBe) ร่วมกับ ร่างกายอาจสร้างภูมิคุ้มกันมากาจัดไวรัสเป็นระยะ ๆ
�
มีปริมาณ HBV DNA น้อยลง คือ เข้าสู่ระยะที่ 3 จึงเกิดตับอักเสบ โดยตรวจพบค่า ALT สูงหรือ
(HBeAg-negative chronic HBV infection) แต่ ขึ้น ๆ ลง ๆ ผู้ที่อยู่ในระยะที่ 4 มีโอกาสเกิด HBsAg
บางรายอาจเข้าสู่ระยะที่ 4 (HBeAg-negative loss และ/หรือ seroconversion ได้เองน้อย ซึ่งต่าง
chronic hepatitis B) ผู้ป่วยมีความเส่ยงต่อการเกิด จากในระยะที่ 3 ส่วนผู้ที่อยในระยะที่ 5 (occult HBV
ี
ู่