Page 195 - Liver Diseases in Children
P. 195

ไวรัสตับอักเสบ   185




              pthaigastro.org
             (HBeAg)  หน้าที่ของ  HBcAg  คือ  ป้องกันสาร        การกลายพันธุ์ของบริเวณ precore ที่ต�าแหน่ง
             พันธุกรรมของไวรัสจากการถูกท�าลายด้วยเอนไซม์  1896 โดยเปลี่ยนจาก G เป็น A ท�าให้หยุดการสร้าง
             exogenous nuclease  นอกจากนี้ HBcAg ยังมี     HBeAg จึงท�าให้เกิด seroconversion (จากตรวจ

             บทบาทในการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้านเซลล์  พบ HBeAg กลายเป็นพบ anti-HBe) ทั้ง ๆ ที่ไวรัส
             (cell-mediated immune response) ส่วน HBeAg  ยังมีการเพิ่มจ�านวนข้น การกลายพันธุ์ของบริเวณ
                                                                             ึ
                           ่
             เป็นโปรตีนส่วนทีไม่ใช่โครงสร้าง (non-structural  basal core promoter (BCP) ก็ท�าให้เกิด HBeAg
                                            ิ
             protein)  และไม่มีบทบาทในการเพ่มจ�านวนของ     seroconversion ได้เช่นเดียวกัน
             ไวรัส ยังไม่ทราบหน้าที่ของ HBeAg ที่แน่ชัด แต่     - ORF-S ท�าหน้าที่สร้าง HBsAg ซึ่งประกอบ

             สันนิษฐานว่ามีบทบาททาให้การตอบสนองของ         ด้วย pre-S1, pre-S2 และ S บริเวณ surface
                                  �
                                                   ่
             ระบบภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสลดต�าลง  antigen มี epitope เรียกว่า “a” determinant (กรด

             (immune tolerance) ซึ่งมักพบในทารกที่ expose  อะมิโนต�าแหน่งท่ 124-147) ซึ่งเป็นส่วนที่พบในเชื้อ
                                                                         ี
             กับ HBeAg ของแม่ขณะอยู่ในครรภ์ การตรวจพบ  HBV ทุกจีโนไทป์ (รูปที่ 10.5) ดังนั้นถ้ามีแอนติบอดี
                                        ื
                                     ื

             HBeAg ในเลือดของผู้ติดเช้อเร้อรังมักสัมพันธ์กับ  ต่อส่วน  “a”  determinant  ก็จะมีภูมิคุ้มกันโรค
             การมี HBV DNA viral load สูง ดังน้นจึงสามารถ  (hepatitis B surface antibody, anti-HBs) ต่อการ
                                             ั

             ใช้  HBeAg  เป็นตัวแทน  (surrogate  marker)  ติดเชื้อทุกจีโนไทป์ ดังนั้นส่วน “a” determinant จึง

                               ื
             ในการบ่งบอกว่ามีเช้อไวรัสปริมาณมากในเลือด  เป็นส่วนสาคัญทีใช้ในการผลิตวัคซีนป้องกันการติด
                                                                   �
                                                                         ่
                                     ้
                                                         ั
               รูปท 10.4 ลักษณะโครงสรางทางพันธกรรมของไวรสตับอักเสบบี
                                               ุ
                    ี
                   $
             (active viral replication)                  ์  เชื้อ HBV ิ
                           (* ไดรบความอนุเคราะห์รูปจากศาสตราจารยนายแพทย์พิสฐ ตั0งกิจวานิชย์)
                             ั
                            ้














                                                  ั
               รูปท 10.5  สวน “a” determinant ของไวรสตับอักเสบบี อักษรย่อในวงกลมหมายถึง กรดอะมิโนในตําแหน่ง
                    ี
                   $
                ี
                ่
             รูปท 10.5 ส่วน  ่“a” determinant ของไวรัสตับอักเสบบี อักษรย่อในวงกลมหมายถึง กรดอะมิโนในต�าแหน่งน้น ๆ
                                                                                                  ั
                นั0น ๆ เช่น C ทีGตําแหน่ง 124 และ 137 หมายถึงซิสเตอีน
                       เช่น C ที่ต�าแหน่ง 124 และ 137 หมายถึงซิสเตอีน
                                  (* ไดรบความอนุเคราะห์รูปจากศาสตราจารย์นายแพทย์พิสฐ ตั0งกิจวานิชย์)
                             ั
                                                                   ิ
                            ้
                         (* ได้รับความอนุเคราะห์รูปจากศาสตราจารย์นายแพทย์พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์)
                                  ั
                               ี
                      เซลล์ตับมตัวรบ (receptor) เชื0อ HBV คือ transmembrane transporter protein sodium
               taurocholate co-transporting polypeptide บนผิวเซลล์ สันนิษฐานว่าสวน pre-S1 domain ของ surface
                                                                           ่
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200