Page 193 - Liver Diseases in Children
P. 193

ไวรัสตับอักเสบ   183




              pthaigastro.org
             ระบำดวิทยำ                                    HBV ในเด็กที่เกิดหลังและเกิดก่อนวัคซีนอยู่ใน EPI
                                                                                       ึ
                  ในอดีตประเทศไทยเป็น  endemic  area       เท่ากับร้อยละ 0.6 และ 4.5 ซ่งใกล้เคียงกับการ
              �
                                                ื
                         ึ
             สาหรับ HBV ซ่งส่วนใหญ่เกิดจากการติดเช้อจากแม่  ส�ารวจในปี พ.ศ. 2547
             สู่ลูก (vertical transmission) อาจเกิดการติดเชื้อ     ผู้ที่ติดเชื้อจะมีเชื้อ HBV ปริมาณมากในเลือด
                                                                       ั
             จากมีการฉีกขาดของรก การบาดเจ็บระหว่างคลอด     และสิ่งคัดหล่งต่าง  ๆ  ดังนั้นจึงเกิด  horizontal
             หรือการสัมผัสสารคัดหลั่งของแม่ พบ intrauterine   transmission ได้ เช่นการติดต่อทางเลือดหรือเพศ
             transmission น้อยมาก ทารกมีโอกาสติดเชื้อสูงถึง  สัมพันธ์ พบเชื้อ HBV ปริมาณเล็กน้อยในอุจจาระ
                                                                 22
             ร้อยละ 70-90 ถ้าแม่มี HBeAg เป็นบวกและทารก    น�้าลาย  และนมแม่ แต่มีโอกาสติดต่อได้น้อยมาก
             ไม่ได้รับการป้องกัน ส่วนแม่ที่มี anti-HBe เป็นบวก  ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ได้แก่ ผู้ที่ได้รับเลือด
                                                                            ี
             จะท�าให้ทารกมีโอกาสติดเชื้อไม่มาก แต่ถ้าทารกติด  บ่อย มีพฤติกรรมเส่ยงทางเพศสัมพันธ์ ฉีดยาเสพ
             เชื้ออาจเกิดตับวายเฉียบพลันจากไวรัสที่มีการกลาย  ติดเข้าหลอดเลือด และบุคลากรสาธารณสุข
             พันธุ์น้  ประเทศไทยได้บรรจุวัคซีน  HBV  เข้าใน พยำธิก�ำเนิด 23
                  ี
             แผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคหรือ Expanded        ไวรัสที่มีส่วนประกอบครบสมบูรณ์ (virion)
             Program on Immunization (EPI) ในปี พ.ศ. 2535  ของเชื้อ HBV เรียกว่า Dane particle (รูปที่ 10.3)
             โดยให้วัคซีนป้องกัน HBV ในทารกแรกเกิดทุกคน  ซึ่งประกอบด้วย hepatitis B surface antigen

             ท�าให้พบความชุกของการติดเชื้อลดลงอย่างต่อเนื่อง  (HBsAg) ที่อยู่ด้านนอก และ hepatitis B core
                  วรนุช  จงศรีสวัสดิ์และคณะได้รายงานการ    antigen  (HBcAg)  ที่อยู่ด้านใน  นอกจากนี้ยังมี

              �
                                     ื
             สารวจความชกของการติดเชอ HBV ในประชากร         อนุภาคของไวรัสที่เรียกว่า subviral particles ซึ่ง
                        ุ
                                     ้
             ไทยตามภูมิภาคต่าง ๆ จ�านวน 6,208 คนในปี พ.ศ.  ประกอบด้วย  surface  antigen  แต่ไม่มีสาร
                                                            ั
             2547 (หลังจากวัคซีนอยู่ใน EPI 12 ปี) พบอัตราการ  พนธุกรรม (genome) และ core antigen จึงไม่
                                  19,20
                                                                             ึ
             ติดเชื้อประมาณร้อยละ 4  ในการส�ารวจนี้มีเด็ก  สามารถแพร่เช้อได้ ซ่ง subviral particles มี 2 ชนิด
                                                                        ื
             อายุระหว่าง 6 เดือนถึง 18 ปีจ�านวน 2,887 คนพบว่า  คือ spherical และ filamentous particles

                                ื
             ความชุกของการติดเช้อ  HBV  ในเด็กที่เกิดหลัง       ไวรัสตับอักเสบบีมีสารพันธุกรรมเป็น partially
                                                     ู
                                      ่
                ี
                    ู
             วคซนอย่ใน EPI ต�ากว่าเด็กทีเกิดก่อนวัคซีนอย่ใน  double-stranded DNA  คือ มีสายดีเอ็นเอสองเส้น
              ั
                             ่
             EPI คือ เท่ากับร้อยละ 0.7 และ 4.3 ตามล�าดับ ต่อ  ที่ยาวไม่เท่ากัน ประกอบด้วยสายบวกที่มีความยาว
                                              �
             มาในปี พ.ศ. 2557 ศูนย์เชี่ยวชาญฯ ได้ทาการสารวจ  ไม่ครบวง และสายลบที่มีความยาวครบวง ดีเอ็นเอ
                                                   �
             ประชากรจานวน 5,964 คน พบความชุกของการ  สายลบประกอบด้วย 4 open reading frames
                      �
             ติดเช้อ HBV ในประชากรอายุ 6 เดือนถึง 5 ปี 5-10,  (ORFs) ซึ่งท�าหน้าที่เป็นรหัสพันธุกรรมในการสร้าง
                 ื
             11-20, 21-30, 31-40, 41-50 และมากกว่า 50 ปี   โปรตีนต่าง ๆ ของไวรัส (รูปที่ 10.4) ได้แก่
             เท่ากับประมาณร้อยละ 0.1, 0.3, 0.7, 3.1, 3.8, 4.7     - ORF-C ท�าหน้าที่สร้าง hepatitis B core
             และ 6 ตามลาดับ  ส่วนความชุกของการติดเชื้อ  antigen (HBcAg) และ hepatitis B e antigen
                         �
                             21
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198