Page 85 - Liver Diseases in Children
P. 85

�
                                                                                     ั
                                                                              ภาวะนาดีค่งในทารก     75
                                                                                   ้

              pthaigastro.org
                        ้
                  ภาวะน�าดีคั่งในทารกมักใช้เกณฑ์การวินิจฉัย  neonatal hepatitis) ร้อยละ 26 โรคท่อน�้าดีตีบตัน
                           2
             จากระดับบิลิรูบิน  ดังต่อไปนี้                ร้อยละ 26 การติดเชื้อร้อยละ 11.5 และการได้รับ
                  - ระดับ direct bilirubin มากกว่า 1 มก./ดล.  อาหารทางหลอดเลือดด�า (total parenteral nutrition-

             ในกรณีที่ total bilirubin น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 มก./ดล.  associated cholestasis) ร้อยละ 6  ปัจจุบันมีความ
                                                                                        3
             หรือระดับ direct bilirubin มากกว่าร้อยละ 20 ของ  ก้าวหน้าในการตรวจด้วย next-generation DNA

             total bilirubin ในกรณีที่ total bilirubin มีค่ามากกว่า  sequencing ท�าให้สามารถวินิจฉัยโรคตับที่ทาให้เกิด
                                                                                               �
             5 มก./ดล. หรือ                                ภาวะน้าดีค่งในทารกได้ถูกต้องแม่นย�า และการวินิจฉัย
                                                                 �
                                                                    ั
                                                                                                  �
                  - ระดับ conjugated bilirubin มากกว่า 1 มก./ดล.  ตับอักเสบในทารกทีไม่รู้สาเหตุลดน้อยลงไปเป็นลาดับ
                                                                           ่
                      ั
                                                   ึ
                                                   ้
             (จากตรวจวดด้วยระบบ Ektachem) โดยไม่ขนกับ      กำรวินิจฉัย
             ระดับ total bilirubin                              อาศัยการถามประวัติ การตรวจร่างกาย และ
                  North American Society for Pediatric     การตรวจทางห้องปฏิบัติการดังต่อไปนี้
             Gastroenterology, Hepatology, and Nutrition

             (NASPGHAN) และ European Society for Pediatric   ประวัติ
             Gastroenterology, Hepatology, and Nutrition        ควรถามประวัติครอบครัว การเจ็บป่วยของแม่
             (ESPGHAN) ในปี พ.ศ. 2560 แนะน�าให้ประเมิน     ขณะตั้งครรภ์ การคลอด และประวัติของผู้ป่วย ซึ่ง

                      ั
                                      ี
                   ้
             ภาวะนาดีค่งในทารกทุกรายท่ยังคงมีตัวเหลืองเมื่อ  ช่วยในการวินิจฉัยแยกโรคต่าง ๆ (ตารางที่ 5.2) เช่น
                   �
                                                                  ิ
             อายุมากกว่า 2 สัปดาห์และส่งปรึกษากุมารแพทย์   อายุที่เร่มมีตัวเหลือง ประวัติการมีปัสสาวะสีเข้ม
                                                                           ึ
                                                                                ี
                                                                                     ้
                                                                                         ั
                  1
             โรคตับ  ยกเว้นในทารกที่กินนมแม่ มีสีปัสสาวะและ  และอุจจาระสีซีดซ่งบ่งช้ภาวะน�าดีค่ง การได้รับยา
             อุจจาระปกติ ร่วมกับตรวจร่างกายไม่พบความผิดปกติ   หรืออาหารทางหลอดเลือดด�า อาการร่วมนอกเหนือ
                                                                ั
                                                                                                  ั
                                                                            ี
             อาจติดตามอาการไปอีก 1 สัปดาห์ หากทารกยังคง    จากตวเหลืองที่บ่งช้ความจ�าเป็นในการดูแลรกษา
             มีตัวเหลือง จึงพิจารณาตรวจเลือดวัดระดับบิลิรูบิน  อย่างเร่งด่วน เช่น ไข้ อาเจียน ซึม ชัก ไม่กินนม
                                                                                        ึ
                                                           หรือเลือดออกผิดปกติ เป็นต้น ซ่งอาการดังกล่าว
             ระบำดวิทยำ                                    อาจมีสาเหตุจากการติดเชื้อ ตับวายเฉียบพลัน โรค
                                            ้
                  ข้อมูลในต่างประเทศพบภาวะนาดีค่งในทารก    ตับเมแทบอลิก หรือโรคต่อมไร้ท่อ ควรรีบให้การดูแล
                                            �
                                                ั
             ประมาณ 1 ต่อ 2500 ของทารกเกิดมีชีพ            รักษาเบ้องต้นในทารกที่มีอาการดังกล่าว และส่ง
                                               1
                                                                  ื
             สำเหตุ                                        ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญตามความเหมาะสม
                        ้
                           ั
                        �
                  ภาวะนาดีค่งในทารกอาจเกิดจากความผิดปกติ        การสอบถามข้อมูลเรื่องสีอุจจาระจากพ่อแม่
                        ้
             ของทางเดินน�าดี (biliary) หรือตับ (hepatocellular)  ของผู้ป่วยอาจมีความผิดพลาดได้ แพทย์ควรตรวจ
                                                       ี
             รวมทั้ง multisystem diseases ดังแสดงในตารางท  สอบสีอุจจาระและปัสสาวะของผู้ป่วยด้วยตนเอง
                                                       ่
                                   ั
                                ้
                                     �
             5.1 การศึกษาทารกที่มีน�าดีค่งจานวน 1,692 คน พบว่า  อย่างไรก็ตามมีการศึกษาพบว่าแพทย์และพยาบาล
             เกิดจากตับอักเสบในทารกที่ไม่รู้สาเหตุ (idiopathic  ที่ดูแลเด็กสามารถวินิจฉัยอุจจาระสีซีดได้ถูกต้อง
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90