Page 94 - alro46
P. 94
ั
4. ขั้นตอนกำรด�ำเนินงำนพฒนำเกษตรกรสู่ Smart Farmer
ในเขตปฏิรูปที่ดิน
�
ี
4.1 สานักงานการปฏิรูปท่ดินจังหวัด คัดเลือกเกษตรกรเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ Smart
Farmer โดยพิจารณาจากเกษตรกรท่มีความมุ่งม่นต้งใจในการทาการเกษตร ต้องการพัฒนาศักยภาพ
ั
ั
ี
�
และคุณภาพชีวิตของตนเอง หรือมีความพร้อมสามารถที่จะพัฒนาเป็น Smart Farmer ได้
4.2 วิเคราะห์ จัดท�าข้อมูลพื้นฐานกลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคล เพื่อประเมินศักยภาพ รายได้
ั
ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ ความพร้อมตามคุณสมบัติฯ และความเหมาะสมด้านต่าง ๆ รวมท้ง
ประเมินความต้องการความรู้ในการประกอบอาชีพ
ี
�
4.3 สานักงานการปฏิรูปท่ดินจังหวัดจัดหาวิทยากรมาถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมด้านการเกษตร การตลาด หรือด้านอื่น ๆ ที่จ�าเป็นตามความเหมาะสมกับการประกอบอาชีพ
ั
ุ
และตามความต้องการของเกษตรกรเป้าหมาย โดยอาจจัดในรูปแบบการอบรม สมมนา ประชม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ ดูงาน หรือจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามความเหมาะสม
4.4 ประเมินคุณสมบัติตามเกณฑ์ประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer ในเขตปฏิรูปท่ดิน
ี
(คุณสมบัติด้านรายได้ และ 6 คุณสมบัติพื้นฐาน 13 ตัวบ่งชี้)
ิ
ุ
ี
่
4.5 รายงานผลการประเมนคณสมบต Smart Farmer ปัญหาและอปสรรคทพบมาท ี ่
ั
ิ
ุ
ื
ส.ป.ก. ส่วนกลางเพ่อจัดทาฐานข้อมูล ติดตามประเมินผลการพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer
�
เพื่อปรับปรุงพัฒนาแผนการด�าเนินโครงการในปีงบประมาณถัดไปให้ดียิ่งขึ้น
5. เกณฑ์กำรประเมินและกำรประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer
ในเขตปฏิรูปที่ดิน
หลักเกณฑ์การประเมินคุณสมบัติ Smart Farmer ของ ส.ป.ก. นั้น ใช้เกณฑ์การประเมินกลาง
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซ่งไม่ได้มีความแตกต่างกันกับกรมส่งเสริมการเกษตร (กสก.) ท่เป็น
ึ
ี
หน่วยงานรับผิดชอบหลักด้านการพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แต่กลุ่มเป้าหมายของ ส.ป.ก. คือ เกษตรกรที่มีเอกสารอนุญาตให้เข้าท�าประโยชน์ในที่ดิน (ส.ป.ก. 4-01)
เกณฑ์การประเมิน Smart Farmer ประเมินจาก 2 คุณสมบัติหลัก ได้แก่
ี
45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข 81