Page 59 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 59
58 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
ี
็
่
�
ี
่
ั
ู
สานวน ส.๒ ทพนกงานสอบสวนมความเหนควรสงไม่ฟ้องผ้ต้องหา
ั
เน่องจากผู้ต้องหาถึงแก่ความตาย ต้องตรวจสอบว่า มีหนังสือรับรองการตายหรือสาเนา
ื
�
ใบมรณบัตรของผู้ต้องหาอยู่ในส�านวนการสอบสวนหรือไม่
กำรตรวจส�ำนวน ส.๓
�
�
�
ี
ส�านวน ส.๓ (มุมดา) ท่อยู่ในอานาจพิจารณาของสานักงานคดีเยาวชนและ
�
ี
ครอบครัวจะต้องเป็นกรณีท่มีพยานหลักฐานน่าเช่อว่าผู้กระทาความผิดเป็นเด็กหรือเยาวชน
ื
ื
ี
ู
ั
ื
ั
ื
โดยมผ้เสยหายหรอประจกษ์พยานให้การยนยนว่าคนร้ายเป็นเด็กหรอเยาวชนแต่ไม่ทราบว่า
ี
เป็นผู้ใดและไม่สามารถระบุตาหนิรูปพรรณท่ชัดเจนได้ ซ่งในทางปฏิบัติมีส�านวนประเภทน ้ ี
ี
ึ
�
น้อยมาก
กำรพิจำรณำสั่งคดีอำญำทั่วไป
หลังจากท่พนักงานอัยการได้รับสานวนการสอบสวนมาแล้ว พนักงานอัยการมีหน้าที ่
�
ี
ั
พิจารณาส่งคดีและดาเนินการ ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๔๐ – ๑๔๗
�
�
�
ประกอบ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ มาตรา ๖ รวมท้งระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยดาเนินคด ี
ั
อาญาฯ และหนังสือเวียนท่เก่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างย่งในการทาความเห็นส่งคด พนักงาน
ิ
ี
�
ี
ี
ั
ั
�
�
อัยการต้องตรวจความถูกต้องของสานวนการสอบสวนและพิจารณาส่งสานวนโดยละเอียด
รอบคอบ ตามระเบียบส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๓๒ และการใช้
�
ั
ดุลพินิจในการส่งคด พนักงานอัยการต้องพิจารณาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานจากสานวน
ี
ิ
�
ั
�
การสอบสวน โดยพนักงานอัยการมีอานาจส่งให้พนักงานสอบสวนดาเนินการสอบสวนเพ่มเติม
หรือส่งพยานคนใดมาให้ซักถาม ตามที่บัญญัติไว้ใน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
�
ื
ในลักษณะ ๒ เร่องการสอบสวน และระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคด ี
�
ู้
อาญาฯ ข้อ ๓๑ ข้อ ๓๕ ข้อ ๓๗ และข้อ ๓๘ ในกรณท่ผเสียหายหรือผต้องหาหรือผมีประโยชน ์
ู้
ู้
ี
ี
ี
ี
เก่ยวข้องในคด ร้องขอความเป็นธรรมต่อพนักงานอัยการ หากพนักงานอัยการพิจารณาแล้ว
�
�
เห็นว่ามีเหตุอันควรต้องพิจารณาข้อเท็จจริงตามคาร้อง โดยการสอบคาให้การพยานบุคคลท ่ ี
้
เกี่ยวของกับขอเท็จจริง หรือพยานบุคคลที่เกี่ยวของกับเอกสารที่ผูรองอางเปนพยานหลักฐาน
็
้
้
้
้
้
ั
ั
ี
ื
เพ่อเป็นพยานหลักฐานในการส่งคด พนักงานอัยการต้องส่งให้พนักงานสอบสวนดาเนินการ
�
สอบสวนเพ่มเติมหรือส่งพยานคนใดมาให้ซักถาม โดยต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ิ