Page 61 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 61
60 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
�
้
่
้
่
้
็
ึ
้
ื
่
(๑) ผตองหาซงเปนผูใหญใชเดกเปนเครองมอในการกระทาความผด
ิ
ู
็
ื
็
ั
ั
ั
้
็
(๒) ในชนสอบสวน เดกให้การรบสารภาพและพนกงานสอบสวน
ึ
ได้ตรวจสอบข้อมูลหรือหลักฐานแล้ว สามารถยืนยันได้ว่าผู้ต้องหาซ่งเป็นผู้ใหญ่ท่เด็กให้การ
ี
ซัดทอดถึงมีตัวตนอยู่จริง เช่น ตรวจสอบจากข้อมูลทะเบียนบัตรประจาตัวประชาชนจาก
�
ส�านักงานทะเบียนท้องถิ่น
�
(๓) หากพนักงานอัยการดาเนินคดีกับเด็กแล้ว พยานหลักฐานและ
�
คาซัดทอดของเด็กไม่อาจฟังลงโทษผู้ต้องหาซ่งเป็นผู้ใหญ่ได้ ทาให้ไม่สามารถดาเนินคดีจนถึง
ึ
�
�
ต้นตอของผู้กระท�าความผิด
�
(๔) การดาเนินคดีกับผู้ต้องหาซ่งเป็นผู้ใหญ่ จะได้ผลในการ
ึ
ปราบปรามผู้กระท�าความผิด และสามารถแก้ปัญหาสังคมได้มากกว่าการด�าเนินคดีกับเด็ก
กรณีเช่นว่าน ให้พนักงานอัยการดาเนินการกันเด็กไว้เป็นพยานเสียก่อน
ี
้
�
�
ตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๘๑ หากมีความจาเป็นก็ให้
�
�
ด�าเนินการขอสืบเด็กเป็นพยานไว้ก่อน ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา
๒๓๗ ทวิ ตามระเบียบส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาฯ ข้อ ๑๑๙
ี
๕. ในคดีท่เด็กหรือเยาวชนเป็นผู้เสียหาย พนักงานอัยการต้องพิจารณาและม ี
ี
ั
ความเห็นเก่ยวกับการคุ้มครองเด็กหรือเยาวชนน้นด้วย หากพิจารณาจากสานวนการสอบสวน
�
ึ
�
แล้วเห็นว่าเด็กหรือเยาวชนซ่งเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากการกระทาความผิดควรได้รับการ
ช่วยเหลือ ไม่ว่าด้วยวิธีการ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะครอบครัว
วิธีทางการแพทย์หรือวิธีการตามกฎหมายอื่น เช่น การสงเคราะห์และการคุ้มครองสวัสดิภาพ
ตามพ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ เป็นต้น ให้พนักงานอัยการเสนอความเห็นเกี่ยวกับวิธีการนั้นด้วย
�
ื
ี
�
ในกรณีท่พิจารณาจากสานวนการสอบสวนแล้ว เห็นว่า เน่องจากการใช้อานาจ
ปกครองหรือความเป็นผู้ปกครอง เป็นปรปักษ์ต่อเด็กหรือเยาวชนซ่งเป็นผู้ต้องหาหรือผู้เสียหาย
ึ
ให้พนักงานอัยการพิจารณาเสนอความเห็นเก่ยวกับการดาเนินการถอนอานาจปกครองของ
ี
�
�
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองของผู้น้น และแต่งต้งผู้ปกครองแทนบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
ั
ั
ของผู้นั้น