Page 63 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 63
62 คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓
�
อัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาฯข้อ ๑๗๘ (ปัจจุบันเป็นข้อ ๑๘๙) ด้วย ตามนัยหนังสือ
ส�านักงานอัยการสูงสุด ที่ อส ๐๐๑๒/ว ๓๖๐ ลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ (ผนวก ๑๖)
ข้อสังเกต หนังสือส�านักงานอัยการสูงสุด ที่ อส ๐๐๑๒/ว ๓๖๐ ลงวันที่ ๓ ตุลาคม
�
ี
๒๕๕๙ ดังกล่าวใช้บังคับกับคดีท่อยู่ในอ�านาจพิจารณาของพนักงานอัยการสานักงานคดีอาญา
ส�านักงานอัยการจังหวัด และส�านักงานคดีศาลแขวงด้วย
็
ี
ี
่
ื
ี
ั
ู
�
ิ
ึ
๗. ในคดทเดกหรอเยาวชนต้องหาว่ากระทาความผดซ่งมอตราโทษอย่างสง
ี
ื
ี
�
�
ึ
ตามท่กฎหมายกาหนดไว้ให้จาคุกไม่เกิน ๕ ปีและเป็นคดีท่อยู่ในเง่อนไขซ่งอาจใช้มาตรการ
พิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาได้ หากข้อเท็จจริงในส�านวนการสอบสวนและรายงานสืบเสาะ
ี
�
ข้อเท็จจริงบ่งบอกว่าเด็กหรือเยาวชนมีแนวโน้มท่จะสานึกในการกระทาความผิดและพนักงาน
�
อัยการเห็นว่าการใช้มาตรการดังกล่าวจะเป็นประโยชน์สูงสุดแก่เด็กหรือเยาวชน แม้ว่า
ู
ผ้อานวยการสถานพนจจะไม่ได้ดาเนนการใช้มาตรการพเศษแทนการดาเนนคดอาญาตาม
ี
ิ
�
�
ิ
�
ิ
ิ
ิ
มาตรา ๘๖ แห่งพ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ก็ตามพนักงานอัยการอาจพิจารณาเสนอไปยังผู้อานวยการ
�
สถานพินิจเพื่อให้ใช้ มาตรา ๘๖ โดยเสนอความเห็นตามล�าดับชั้นจนถึงรองอธิบดีอัยการหรือ
�
ั
�
ื
รองอธิบดีอัยการภาคเพ่อพิจารณาส่งตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคด ี
อาญาฯ ข้อ ๑๙๖
ข้อสังเกต การเสนอไปยังผู้อานวยการสถานพินิจเพ่อให้ใช้มาตรพิเศษแทนการ
�
ื
ิ
ดาเนินคดีอาญา ตามมาตรา ๘๖ ดังกล่าว พนักงานอัยการควรส่งสอบสวนเพ่มเติม โดยให้
ั
�
ื
พนักงานสอบสวนนาตัวผู้ต้องหา และผู้เสียหาย (ถ้ามี) มาพบพนักงานอัยการ เพ่อซักถาม
�
�
ื
ข้อเท็จจริงในเร่องความยินยอมให้จัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟ และบันทึกถ้อยคาตามแบบ
�
ู
�
�
อ.ก.๒๒ ก่อน หากผู้ต้องหาและผู้เสียหาย (ถ้ามี) ยินยอม จึงจะทาความเห็นตามลาดับช้นจนถึง
�
ั
�
รองอธิบดีอัยการหรือรองอธิบดีอัยการภาคเพ่อพิจารณาส่ง และในหนังสือแจ้งผู้อานวยการ
ั
ื
สถานพินิจควรแนบส�าเนาบันทึกถ้อยค�าของผู้ต้องหา และผู้เสียหาย (ถ้ามี) ตามแบบ อ.ก.๒๒
ไปเพื่อประกอบการพิจารณาด้วย
กำรสั่งคดีของพนักงำนอัยกำร
�
�
การดาเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการในประเทศไทยใช้หลักการดาเนินคด ี
ี
ั
ตามดุลพินิจ ท้งน้เพราะตาม ประมวลกฎหมายวิธพิจารณาความอาญา ไม่มีบทบัญญติบังคับให้
ั
ี