Page 3 - Best Practice 2563
P. 3
รวมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการด ารงชีวิตของตนเองให้อยู่บนพื้นฐานของความพอเพียงและมีการเชื่อมโยง
เป็นเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องส าคัญอย่างยิ่ง
กศน.ต าบลเขาน้อย จึงได้จัดท าโครงการ การอบรมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การท าสบู่ชาโคล
เพื่อจะท าให้ประชาชนต าบลเขาน้อย น าแนวทางไปใช้อย่างเป็นขั้นตอนบนหลักแนวคิดพึ่งตนเองมีคุณธรรม มี
ความรู้เพื่อให้คนส่วนใหญ่ พออยู่ พอมี พอใช้และสังคมเจริญก้าวหน้าไปอย่างมีสุข
6. วัตถุประสงค ์
6.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การท าสบู่ชาโคล เพื่อ
ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
7. วิธีด าเนินการ
7.1 ก าหนดกลุ่มเป้าหมาย
- ประชาชนทั่วไป ชุมชนบ้านเขาน้อย หมู่ 2 ต าบลเขาน้อย อ าเภอปราณบุรี จ านวน 15 คน
7.2 การด าเนินการจัดกิจกรรม
7.2.1 ครู ผู้น าชุมชน และประชาชนในชุมชนร่วมกันศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ โดย
การประชุมประจ าเดือน จากนั้นน าข้อมูลมาวิเคราะห์ความต้องการในการจัดโครงการ
7.2.2 ครู ผู้เรียน และวิทยากร ประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการด าเนินงาน ชี้แจงวัตถุประสงค์
ผลที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้รับ ท าให้มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จ านวน 23 คน
7.2.3 ศึกษาเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับการจัดโครงการ การอบรมเรียบนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
จัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์ และวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน และวิทยากร
7.2.4 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การท าสบู่ชาโคลและฝึก
ปฏิบัติการท าสบู่ชาโคล
7.2.5 กศน.อ าเภอปราณบุรี ได้มีการนิเทศติดตามการจัดโครงการอบรมเรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพียง การท าสบู่ชาโคล เพื่อติดตามประเมินผลการจัดกิจกรรม และครู กศน.ต าบลได้มีการติดตามการ
ด าเนินงาน โดยใช้แบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
7.2.6 สรุปผลการด าเนินโครงการที่ได้จากการติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษา
ต่อเนื่องเมื่อสิ้นสุดโครงการ น าเสนอผลการจัดกิจกรรม และจุดที่ควรพัฒนา รวมทั้งข้อเสนอแนะ และจัดท า
รายงานเพื่อน าเสนอแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ