Page 5 - PowerPoint Presentation
P. 5

เป็นคนวิปริต คงไม่อยากมีใครอยากคบเรา รู้สึกว่าตัวเองตัวเล็ก ไม่มีคุณค่า เกิดการตีตราตนเอง (Self-
           Stigma)  สิ่งเหล่านี้เหมือนยิ่งเป็นก าแพงผลักพวกเขาให้ห่างไกลออกไปจากการมีคุณภาพชีวิตที่ดี




                   นอกจำกกำรตีตรำที่เกิดขึ้นในสังคม

              ช
           ชุม น แล้ว ผ ล การส ารวจส ถ านการณ์ การ
           ตีตราและเลือกปฏิบัติในหน่วยบริการ สุขภาพ

                                   า
           ก็ได้สะท้ น ให้เห็นว่าเจ้ ห น้าที่ผู้ให้บริการ
                    อ
           ยังมีการตีตราและเลือกปฏิบัติมีทัศนคติด้านลบ

           กับผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีหรือกลุ่มประชากร

           หลัก เช่น การให้ผู้อยู่ ร่วมกับเชื้อเอชไอวีท า

           ฟันเป็นคิวสุดท้าย
                                                                              ื
           ทั้งที่มารับบัตรคิวก่อน การเปิดเผยสถานะการติดเชื้อเอชไอวีให้กับบุคคลอ่นซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องใน การ
           ดูแลรักษา ผ่านการท าสัญลักษณ์ในแฟมประวัติ ซุบซิบ นินทา หรือการใส่ถุงมือสองชั้นหรือป้องกันตัวเอง เกิน
                                            ้
                                                                              อ
             ว
           ค า มจ าเป็นถ้าต้องดูแลผู้รับบริการที่รู้ว่ามีเชื้อเอชไอวีรวมไปถึ เ รื่ ง ข ง การจัดบริการที่ไม่มีความ
                                                                       ง
                                                                          อ
           ละเอียดอ่อน เรื่องเพศภาวะหรือความหลากหลายทางเพศ เช่น เรียกผู้รับบริการด้วยค าน าหน้านาม เช่น นาย
           นาง นางสาว หรือจัดสถานที่โดยไม่เออส าหรับอัตลักษณทางเพศที่หลากหลาย
                                                         ์
                                          ื้
                   การเรียกผู้รับบริการด้วยค าน าหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว อาจดูเป็นเพียงการกระท าเล็กๆ แต่
           สามารถส่งผลกระทบทางจิตใจได้ เพราะบุคคลข้ามเพศยังไม่สามารถเปลี่ยนค าน าหน้านามตามอัตลักษ ณ์ ทาง

           เพศของตนเองในเอกสารต่างๆ เมื่อผู้หญิงข้ามเพศถูกเรียกว่า “นาย” ในที่สาธารณะ หลายครั้งมักต้องเจอ กับ

           สายตาที่จ้องมองทั้งจากบุคลากรและผู้รับบริการคนอนๆ และการไม่ค านึงถึงอัตลักษณ์ทางเพศในการจัด สถานที่
                                                       ื่
                                                                   ั
           เช่น การกีดกันคนข้ามเพศในการใช้ห้องน้ า การจัดสถานที่ห้องพกให้ผู้หญิงข้ามเพศอยู่ร่วมกับผู้ชาย เพราะค า
           น าหน้านาม ยังสามารถท าให้เกิดความเสี่ยงต่อการถูกคุกคามทางเพศ หรือความรุนแรงในรูปแบบ ต่างๆ อีกด้วย


                   มีอยู่ครั้งนึงพยาบาลถามฉันว่า ‘ท าไมคุณถึงรอให้อาการมันแย่ขนาดนี้แล้วค่อยมาโรงพยาบาลล่ะ?’ ฉัน
           บอกกบพยาบาลคนนั้นว่าเป็นเพราะทุกครั้งที่ฉันมาฉันรู้สึกว่าถูกล่วงละเมิด ฉันรู้สึกว่าฉันสร้างความล าบาก ให้กบ
                                                                                                        ั
                ั
           เะ้าหน้าที่ที่ให้บริการแก่ฉันที่ต้องมาดูแลคนแบบฉัน (ประสบการณกของหญิงข้ามเพศ)
                                                     1










               1    Health Policy Project, Asia Pacific Transgender Network, United Nations Development Programme. 2015.
                                         ี่
               แนวทางตนแบบการใหบรการสขภาพทครอบคลมแก่บคคลขามเพศและชมชนขา้  มเพศในภมิภาคเอเชียและแปซิฟ ิก(Blueprint
               for
                                                                                             2
               the Provision of Comprehensive Care for Trans People and Trans Communities). Washington, DC: Futures
               Group, Health Policy Project.
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10