Page 9 - PowerPoint Presentation
P. 9

บทที่ 2 ควำมจ ำเป็นที่ต้องด ำเนินงำนลดกำรตีตรำและ


                                           เลือกปฏิบัติ ในสถำนบริกำรสุขภำพ





                       เพรำะผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีต้องมารับบริการที่หน่วยบริการอยู่เป็นประจ า และสถานพยาบาล

               เป็นด่านแรกส าหรับผู้ที่มีความเสี่ยงหรือกลุ่มประชากรหลัก ผู้คนเหล่านี้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคลากร
               ในหน่วยงาน อีกทั้งบุคลากรทางการแพทย์หรือสถานสุขภาพยังเป็นต้นแบบทางสังคม ที่มีส่วนช่วยชี้น าให้เกิด

               การเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าบุคลากรในสถานบริการสุขภาพมีทัศนคติทีตัดสิน เหมารวม และลดทอนการให้คุณค่า

               ย่อมส่งผลต่อพฤติกรรมบริการที่จะแสดงออกต่อผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีและกลุ่มประกรหลักทั้งโดยรู้ตัวและ

               โดยไม่รู้ตัว ผ่านทางสีหน้า แววตา กิริยา ท่าทาง และการพูดจา อีกทั้งนโยบายและการจัดระบบบริการ

               อาจส่งผลต่อทางเลือกหรือค าแนะน าที่ให้กับผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี


                       ทั้งนี้  ในทุกหน่วยบริการสุขภาพสามารถจะด าเนินงานลดการตีตราและเลือกปฏิบัติได้

                                       ่
               โดยจ าเป็นต้องได้รับความรวมไม้ร่วมมือและมีการด าเนินงานในหลายระดับเพราะโจทย์ของการตีตรา
                                  ี
               ไม่ได้มีในระดับบุคลเพยงอย่างเดียวแต่อาจเป็นเพราะนโยบาย สภาพแวดล้อมในองค์กร การจัดสถานที่ ฯลฯ
               ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงจึงต้องท าในเชิงระบบด้วย


                       ระดับองค์กร เป็นกระบวนการส ารวจสถานการณ์ด้านการตีตราและเลือกปฏิบัติในหน่วยบริการ

               การจะช่วยสะท้อนให้องค์กรเห็นว่ายังมีจุดบริการไหนทีม่  การตีตราและเลือกปฏิบัติ เพอจะได้ระดมก าลังกาย
                                                                                       ื่
                                                                ี
               และใจประชุมหารือร่วมกับผู้เกี่ยวข้องเพอปรับปรุงระบบบริการท างานและพัฒนาเป็นแนวนโยบายและแนว
                                                 ื่
               ปฏิบัติในการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติที่เป็นขององค์กร

                                     ั
                       ทั้งนี้ การช่วยกนวิเคราะห์ท าความเข้าใจสาเหตุและร่วมกันหาแนวทางคลี่คลายหรือแก้ไขเป็นสิ่ง
               ส าคัญ โดยเริ่มจากการก าหนดตัวอย่างของการตีตราพร้อมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยที่ท าให้เกิดการตีตราและเลือก

               ปฏิบัติว่ามีปัจจัยไหนบ้าง ซึ่งควรระบุอย่างเฉพาะเจาะจง เช่น กลัวกังวลเรื่องอะไร มีทัศนคติด้านลบเรืองอะไร่
               และเมื่อค้นหาปัจจัยได้ที่ต้นตอของการตีตราและเลือกปฏิบัติแล้วจึงร่วมกันหาทางออก พร้อมทั้งระบุฝ่าย/

               แผนกที่ด าเนินการ โดยก าหนดระยะเวลาในการด าเนินการด้วย
















                                                                                             6
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14