Page 207 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 207
139
เข้าใจได้ง่ายขึ้น เว้นแต่ว่าไม่สนใจ ไม่ใส่ใจ ไม่อยากรู้ อันนี้ก็แล้วแต่ความพอใจของแต่ละคน แต่ปัญญาที่ รู้ว่าอะไรที่ควรใส่ใจ อะไรที่ควรศึกษา อะไรที่พอใจที่จะรู้ แล้วเราจะเข้าใจได้ง่ายขึ้น สังเกตไหม พอสมอง เราโล่งโปร่ง ไม่มีอะไรปิดบัง ไม่มีอะไรตกค้างอยู่ มันก็จะ อ๋อ! เป็นอย่างนี้อย่างนี้ ตรงนี้จริง ๆ ก็คือการ พิจารณาตามเหตุปัจจัยที่เกิดขึ้น ณ ขณะนั้น
เพราะฉะนั้น สิ่งที่เกิดขึ้น พอเราเข้าใจได้ว่า “เป็นธรรมชาติ” ของสิ่งนั้น เราก็ อ๋อ! สงบแล้ว พอแล้ว ยกจิต ให้เขาอยู่แบบของเขา ให้ต้นไม้ก็เป็นต้นไม้ เราก็เป็นอากาศแล้วกัน จะได้ลอยไปไหนได้ ว่าง ๆ เหมือนกับที่บอกให้จิตที่ว่างกว้างให้เป็นบรรยากาศ จิตใจเรารู้สึกยังไง ? สบายขึ้นเยอะ เพราะฉะนั้น พอ เราฝกึ อริ ยิ าบถยอ่ ยใหเ้ ปน็ ปกตขิ องชวี ติ เรา จติ เราหรอื ชวี ติ เราจะคลกุ คลอี ยกู่ บั ธรรมะซงึ่ เปน็ ของจรงิ เพราะ วา่ ชวี ติ นกี้ ค็ อื กอ้ นของธรรม รปู นามขนั ธห์ า้ คอื กอ้ นธรรมอยแู่ ลว้ เรากค็ ลกุ คลอี ยกู่ บั ธรรมะ พจิ ารณาสงั เกต อาการของรูปนามนี้ไป เป็นอย่างไร เกิดดับอย่างไร สภาพจิตดีไม่ดีอย่างไร ผัสสะที่เข้ามาเกิดดับอย่างไร กาหนดรู้ไป แล้วลองดูว่าเราจะได้ประโยชน์อะไรบ้างจากการกระทาอันนี้
อนั นตี้ อ้ งชว่ ยกนั คน้ ควา้ พจิ ารณาดวู า่ เราจะไดป้ ระโยชนอ์ ะไรบา้ งจากการกระทา แบบนี้ อนั นเี้ ปน็ สงิ่ ที่เราต้องรู้ อาจารย์บอกไว้ก็อาจจะไม่หมด บอกดีอย่างนั้นดีอย่างนี้... จะดีจริงไหมลองหาเองดีกว่า จะได้รู้ ดว้ ยตวั เองเปน็ ปจั จตั ตงั ใหเ้ ปน็ อยา่ งนนั้ เพราะฉะนนั้ คดิ วา่ คงจะเขา้ ใจขนึ้ นะ อาจารยน์ อกเรอื่ งไปบา้ งกถ็ อื เป็นเรื่องธรรมดานะ ถ้า(พูด)เรื่องเดียวมาก ๆ เดี๋ยวเครียด จริง ๆ พูดธรรมปฏิบัติเขาต้องขรึม ใช่ไหม ? แปลกมากเลย พูดธรรมะถ้าขรึมแล้วน่าเชื่อ แต่พอลุกออกไปหาย... ไม่ได้ ต้องเป็นปกติ มีความสุขก็คือมี ความสุข จิตที่มีความสุขอย่างมีสติ จิตที่ผ่องใส จิตที่เป็นกุศล ไม่ผิดหรอก! หมดเวลา เดี๋ยวต่อไปนั่งสงบ นิดหนึ่งก่อนที่เราจะแผ่เมตตากัน
เราทบทวนวิธีเพิ่มพลังเมตตา วิธีเพิ่มความสุขให้ตัวเอง วิธีเติมบุญให้กับตนเอง เติมบ่อย ๆ เติม ทกุ วนั จนเกดิ ความชา นาญ เปน็ การเตมิ พลงั บญุ ใหก้ บั ตนเอง เปน็ ตน้ ทนุ ของชวี ติ เราใหม้ บี ญุ มากขนึ้ มพี ลงั บญุ ทหี่ นาแนน่ ขนึ้ แลว้ ใหพ้ ลงั บญุ ตรงนเี้ กอื้ หนนุ ในการทา ความดขี องเราใหด้ ยี งิ่ ๆ ขนึ้ ไป บญุ ทา แลว้ สง่ ผล แตบ่ ญุ กม็ วี ธิ สี ง่ ผลในแบบของตวั เอง และเรากม็ วี ธิ ที จี่ ะนอ้ มเอาพลงั บญุ นนั้ มาใชก้ บั ชวี ติ ของเรา เพมิ่ พลงั ให้ กับจิตใจของเรา เอาพลังบุญนี้มาเป็นกาลัง มาเกื้อหนุนความดี มาใช้ในการปฏิบัติธรรม มาใช้ในการเจริญ วิปัสสนา มาใช้เป็นตัวรองรับเป็นเกราะห่อหุ้มคลุมตัวเราป้องกันอกุศลที่จะเกิดขึ้น การน้อมพลังบุญเข้ามา ใหเ้ ตม็ ทงั้ ใจเตม็ ทงั้ ตวั เปน็ การบรรเทาความรอ้ นทเี่ กดิ ขนึ้ จากผสั สะทที่ า ใหจ้ ติ เรา่ รอ้ นมคี วามทกุ ข์ ถา้ มพี ลงั บุญห่อหุ้ม ความร้อนนั้นก็จะลดลง ทาให้จิตเราเย็นลงหรือดับได้เร็วขึ้นนั่นเอง
พลังของบุญพลังของความสุขเป็นพลังเมตตา เป็นการให้เมตตากับตนเองในเบื้องต้น เมื่อจิตเรามี พลังบุญมีพลังของความสุขมาก ๆ เมตตาธรรมก็จะเกิดขึ้นเอง มีความปรารถนาดีต่อผู้อื่น อยากให้เขามี ความสุข อยากให้บุญนี้กับบุคคลอื่นด้วย เพราะฉะนั้น ตอนนี้ให้น้อมบุญมาใส่ใจเราให้เต็ม ให้เต็มทั้งตัว เต็มทั้งใจ ใจที่เบากว้างแค่ไหนก็ให้เต็มเท่านั้น สมมติ ใจที่เบากว้างเท่าศาลา ก็ให้ความสุขนี้เต็มทั้งศาลา ใจ ที่เบาใจที่สุขกว้างไม่มีขอบเขต ก็ให้ความสุขนี้แผ่ออกไปไม่มีขอบเขตเหมือนกัน ความสุขกับใจให้เป็นอัน