Page 29 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 29

(30)
มาคิดทบทวนในภายหลัง หลังจากผ่านมาหลายปี เราไม่เคยได้คิดคานึงถึงคนข้างหลัง ว่าเขารู้สึก อย่างไร เขาจะเป็นทุกข์ใจ ห่วงเราแค่ไหน ใจคิดเพียงแต่ว่า สิ่งที่เราทาอยู่ เป็นสิ่งที่ดี เป็นบุญเป็นกุศล แม่ และพี่น้องคนทางบ้านคงไม่เป็นไร คงไม่กังวล ไม่เป็นห่วง
การธดุ งคใ์ นปา่ ตอ้ งอาศยั ความสงั เกต เรยี นรสู้ ภาพปา่ กลางวนั ตอนเชา้ แดดสอ่ งทางไหน สงั เกตดู ทิศไหนจากเงาของต้นไม้ ป่าแต่ละป่ามีความแตกต่างกัน มีอาถรรพ์ของป่า มีเจ้าป่าเจ้าเขาสิงสถิต การ ธดุ งคจ์ งึ ตอ้ งทา ดว้ ยอาการสา รวม เปน็ การอยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งมนษุ ยก์ บั สงิ่ ทมี่ องไมเ่ หน็ ระหวา่ งธดุ งคใ์ นปา่ ลกึ การสารวม เคารพในธรรมชาติของป่า ไม่ล่วงเกินเทวดาอารักษ์ ระมัดระวังคาพูดคาจา สารวมกิริยา ไม่ ลบหลู่ป่า บางครั้งเดินธุดงค์ทั้งคืน ครั้นรุ่งเช้าความรู้สึกเหมือนเหตุการณ์นั้นไม่ได้เกิดขึ้นจริง เจอสถานที่ แปลก ๆ ไม่น่าเป็นจริงได้ในชีวิตจริง เหมือนกับหลับแล้วฝันไป ทั้ง ๆ ที่ไปด้วยกันหลายรูป ต่างก็รู้สึก เหมือนกัน เป็นความจริงหรือฝันไป เป็นเหมือนที่เขาเรียกเมืองลับแล มีพระที่ไปด้วยกันพลัดหลงทางกัน หลายวันกว่าจะกลับมาเจอกัน
ในระหวา่ งธดุ งค์ หลายครงั้ จวี รทหี่ ม่ ไปฉกี ขาด โดนกงิ่ ไมเ้ กยี่ วในปา่ ระหวา่ งทาง ตอ้ งหาเศษผา้ จวี ร เก่า ๆ ตามวัด หรือเศษผ้าจากที่คนทิ้งไว้ หรือผ้าสีที่ผูกตามต้นไม้ ตามแต่โอกาส มาเย็บปะจีวรส่วนที่ขาด ชารุด แล้วหาสีมาย้อม หรือย้อมด้วยเปลือกไม้คลุกกับโคลน ปฏิบัติตามวิธีการพระวินัยบัญญัติ จึงไม่ได้ ติดใจว่าสีจะออกมาเป็นอย่างไร ห่มจีวรเพื่อป้องกันความร้อนหนาวและอันตรายจากสัตว์
ระหว่างธุดงค์ส่วนใหญ่จะพักตามป่า หรือตามโรงเรียน จะไม่ค่อยพักตามวัด ตลอดธุดงค์ฉันมื้อ เดียว และเป็นอาหารมังสวิรัติ หากเป็นอาหารบะหมี่กึ่งสาเร็จรูปมาม่า จะใส่เฉพาะเส้นหมี่กับพริกแห้ง ไม่ ใส่น้ามันที่ติดมาด้วยในซอง โดยใส่ต้มในบาตรแล้วค่อยแบ่ง ๆ กันฉัน มีครั้งหนึ่งธุดงค์ออกจากน้าหนาว เพชรบูรณ์เข้าพิษณุโลกไปทางวังทอง เดินบิณฑบาตตั้งแต่เช้าจนสิบโมงยังไม่เจอใครใส่บาตรเลยสักคน จนถึงตลาด จึงมีโยมใส่บาตร โยมมีความศรัทธาพระธุดงค์ใส่จนล้นบาตร เอาอาหารแห้งใส่ถุงหิ้วขนาด ใหญม่ าใหด้ ว้ ย หลงั จากคณะนงั่ ฉนั ใตต้ น้ ไม้ จงึ จดั การอาหารแหง้ ทเี่ หลอื ใหม้ อเตอรไ์ ซคร์ บั จา้ งไปสง่ ใหแ้ ก่ โรงเรยี นใกล้ ๆ เพอื่ เปน็ อาหารแกน่ กั เรยี นตอ่ ไป การธดุ งคเ์ นน้ ไปหารบั บณิ ฑบาตขา้ งหนา้ มเี สบยี งตดิ ตวั ไป เท่าที่จาเป็น เมื่อต้องดารงชีวิตในป่า ชีวิตสันโดษไม่มีเงินติดตัวแม้แต่บาทเดียว เมื่อมีโยมมาถวายปัจจัย ก็จะนาไปทาบุญต่อ เพียงมีอาหารวันละมื้อก็อยู่ได้ ไม่รู้สึกอาทรร้อนใจ กลับมีความสุขใจ ต่างกับคนทาง โลกหากใครไม่มีเงินติดตัวเลยเป็นเรื่องใหญ่มาก มีความกังวลใจนอนไม่หลับ เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง ไม่ อาจดารงชีพต่อไปได้หากปราศจากเงิน คนเหมือนกันแต่จิตใจที่ต่างกัน เห็นสาระชีวิตต่างกัน ผลลัพธ์จึง ต่างกัน


































































































   27   28   29   30   31