Page 487 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 487
419
เพราะฉะนั้น อาจารย์จึงถามคาแรกว่า ถามวันแรกว่า เราปฏิบัติธรรม ทาไมปัญญาถึงไม่เกิดขึ้น อยากจะมีปัญญา ปัญญาที่อยากรู้ อยากรู้อะไร อยากรู้ตามที่เขาว่ามา อยากรู้ตามที่เขาเห็น หรืออยาก รู้สภาวธรรมที่กาลังปรากฏเกิดขึ้น นี้บอกอะไรกับเรา รู้สภาวธรรมที่กาลังปรากฏขึ้นนี่นะ กาลังประกาศ ตัวเอง เป็นอย่างนี้นะ...ธรรมชาติ ที่บอกว่าความคิดที่เกิดขึ้น เราห้ามไม่ให้เกิดก็ไม่ได้ เกิดขึ้นแล้ว ลองให้ เขาตั้งอยู่อย่างนั้น ได้ไหม...ไม่ได้อีก แล้วเราก็หงุดหงิด ทาไมต้องเกิด ทาไมเกิดแล้วไม่ดับสักทีหนึ่ง ทาไม เป็นอย่างนี้
คาว่า ไม่ดับ คาว่าเกิดไม่ยอมหยุดนี่นะ จริง ๆ แล้ว ถามว่าเป็นเพราะเขาเกิดไม่ยอมหยุด หรือเรา ไม่สนใจการเกิด การหยุดไป...ของเขา เพราะอะไร คือคนเราจะมีลักษณะอย่างหนึ่งว่า ถ้าเรื่องที่ชอบ มัก จะอยากคิดต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ส่วนเรื่องที่ไม่ชอบก็พยายามปฏิเสธไป พอเรื่องที่ไม่ชอบ พอปฏิเสธแล้ว เขาไม่เป็นไปตามต้องการแค่นั้นเอง เราจึงรู้สึกว่าไม่ยอมดับสักทีหนึ่ง เรื่องที่ชอบอยากจะคิด แล้วอยู่ได้ไม่ นาน ทาไมดับเร็วจัง คิดได้แป๊ปเดียวก็หายแล้ว ก็คือความอยาก พอไม่เป็นไปตามความอยาก ก็รู้สึกไม่ดี กับอารมณ์นั้น
ตรงนี้เป็นอะไร ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น มันก็เป็นทุกข์ ปรารถนาอะไร แค่ความคิดเองนะ แค่ ความคิดตรงนี้ เรายังกาหนด ควบคุมให้เป็นไปตามที่ต้องการเสมอ...ไม่ได้ เพราะอะไร ความคิดเป็นขันธ์ ๆ หนงึ่ ทปี่ รากฏขนึ้ มาตามเหตแุ ละปจั จยั ไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามใจ แตเ่ ปน็ ไปตามเหตปุ จั จยั ของอารมณข์ ณะนนั้ ที่เป็นเหตุปัจจัยให้เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น เราศึกษาธรรมะ เราศึกษาอะไร ศึกษาถึงความเป็นไปของสัจธรรม ตรงนี้เป็นไปตามเหตุปัจจัย อ๋อ! เพราะเหตุนี้เกิดขึ้นมา อารมณ์นี้ก็ตามมา เพราะรู้สึกว่ามีกิเลส มีโทสะ ความทุกข์ก็เกิดขึ้น เห็นทุกข์แล้ว เราทาอย่างไร เราจะละทุกข์ หรือจะละอารมณ์
ส่วนใหญ่นี่นะ เราจะไม่ค่อยดับทุกข์ตัวเอง มักจะดับอารมณ์ภายนอก อยากให้อารมณ์ภายนอก มันดับก่อน แล้วความทุกข์ค่อยดับ ใช่ไหม? เอ่อ!เราก็เลยไม่สมหวังสักทีหนึ่ง พระพุทธเจ้าตรัส ให้ดับ คือ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ ความไม่รู้ การเข้าไปยึดในอารมณ์เหล่านั้นนี่แหละ ทาให้เราทุกข์ สิ่ง ที่เราต้องดับคืออะไร เอ่อ! ดับที่ตัวเรา ดับอวิชชา ดับความไม่รู้ การจะดับความไม่รู้ทาอย่างไร คือดูให้ชัด พิจารณาเข้าไปรู้ให้ชัด ๆ จะได้เห็นจริง ๆ ว่าเป็นแบบนั้นแหละ อย่ายึดเลย นี่แหละ เขาเรียกว่าพิจารณา สภาวธรรมที่เกิดขึ้น
เพราะฉะนนั้ วปิ สั สนาทา่ นจงึ พดู ถงึ การยกจติ ขนึ้ สกู่ ารพจิ ารณาอาการพระไตรลกั ษณ์ ตงั้ แตเ่ บอื้ งตน้ วปิ สั สนามกั บอกวา่ ใชแ้ คข่ ณกิ สมาธิ กย็ กจติ ขนึ้ สวู่ ปิ สั สนาไดแ้ ลว้ เคยไดย้ นิ ไหม ใชข้ ณกิ สมาธิ ขณกิ สมาธิ แคต่ งั้ ใจรู้ สงั เกตดชู วั่ ขณะหนงึ่ อดึ ใจหนงึ่ กเ็ หน็ แลว้ เหมอื นความคดิ เรา ตอ้ งนงิ่ นาน ๆ จะคอ่ ยเหน็ ความจรงิ ถ้านิ่งนาน ๆ ความคิดไม่เกิดแล้วนะ พอนิ่งนาน ๆ ความคิดหายหมด แล้วก็กว้าง พอเกิดขึ้นมาก็ไม่สนใจ แล้ว แต่ถ้าเราใส่ใจแค่นิดหนึ่ง สนใจนิดหนึ่ง คือตั้งใจรู้เป็นขณะ ๆ ๆ การสนใจที่จะรู้เป็นขณะ ๆ ๆ นี่นะ รู้อยู่กับปัจจุบันแต่ละขณะ ๆ ๆ จากขณิกสมาธิ ก็เป็นอุปจารสมาธิ เป็นอัปปนาสมาธิได้เช่นกัน