Page 37 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเจาะสภาวะ
P. 37

215
ไปเรื่อย ๆ มีความต่อเนื่อง สติมีความต่อเนื่อง อารมณ์ของวิปัสสนาก็ต่อเนื่อง ในการกาหนดอารมณ์ เขาเรียก มีสติอยู่กับปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง ให้เป็นลูกโซ่ตลอดเวลา
มีเจตนาที่จะใช้สติกาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน ให้ต่อเนื่อง ให้เป็นลูกโซ่ตลอดเวลา มีเจตนาที่จะรู้ให้ ต่อเนื่อง ถึงแม้มีเจตนาแล้วบางครั้งก็หลุด อันนี้เป็นได้ แต่ให้มีเจตนาที่จะรู้อย่างต่อเนื่อง เพราะฉะนั้น คือ ถ้าเรามีเจตนาที่ดีตรงนี้แล้วนี่นะ ถ้าเรามีเจตนาที่ดีแบบนี้ ถึงแม้จะหลุด จะเผลอไป เดี๋ยวจะกลับมาเร็วขึ้น สติจะกลับมารู้ตัวเร็วขึ้น ไวขึ้น มันไม่ได้เผลอไผลไปนาน
แต่ถ้าไม่ได้มีเจตนาตรงนี้ เดี๋ยวก็รู้ปัจจุบันแป๊บ ๆ เดี๋ยวก็แว็บไป เดี๋ยวปัจจุบัน...แป๊บ ๆ เดี๋ยว ก็แว็บไปนู้น รู้ปัจจุบัน ๒ นาที แว็บไป ๕ นาที รู้ปัจจุบัน ๕ นาที แว็บไปหนึ่งชั่วโมงแบบนี้ มันก็หลุดไป เป็นระยะ แต่ถ้าเรามีเจตนาที่จะรู้ปัจจุบันอยู่เนือง ๆ เนือง ๆ หลุดไปก็เริ่มใหม่ หลุดไปก็เริ่มใหม่ สังเกต แบบนี้ เพราะฉะนั้น การเจาะสภาวะ จึงเป็นสิ่งสาคัญในการเจริญวิปัสสนา อย่างเราเคยถามว่า ปฏิบัติ อย่างไรถึงจะก้าวหน้าได้เร็วขึ้น ทาอย่างไรการปฏิบัติธรรมของเรา ถึงจะก้าวหน้าต่อไปได้ หรือก้าวหน้าได้ เร็วขึ้น ก็ทาแบบนี้แหละ
หนึ่ง เขาเรียกมีความเพียร เพียรที่จะเจริญสติ มีสติคอยกากับ คอยดูแลอย่างต่อเนื่อง และเมื่อ มีสติ มีเจตนาที่จะรู้ถึงอาการพระไตรลักษณ์ เขาเรียกเจตนาที่จะเจาะสภาวะนี้ให้มาก อย่างเช่น ฟังเสียง อาจารย์ ขณะที่นั่งอยู่นี่ พอเจตนาที่จะฟังเสียง เสียงอาจารย์ที่ดังขึ้นมา แต่ละคา ๆ ๆ เห็นไหม เสียงคานี้ หมด เขามอี าการอยา่ งไร ดบั แบบไหน ดบั แวบ็ ไป หรอื คา นหี้ มดแลว้ แวบ็ แลว้ กว็ าบขนึ้ มา แวบ็ ...วาบขนึ้ มา รู้อาการเกิดดับของคาพูด แต่ถ้ารู้อาการเกิดดับของคาพูดแบบนี้บ่อย ๆ ไม่ต้องกังวล เรื่องว่าจะฟังรู้เรื่อง หรือไม่รู้เรื่อง ถ้าเห็นอาการเกิดดับมาก ๆ เดี๋ยวก็ฟังไม่รู้เรื่องเองไม่ต้องห่วง
คือถ้าฟัง...เห็นอาการเกิดดับ แล้วเห็นแต่ดับ ๆ ไม่รู้เรื่องแต่รู้ถึงสภาวธรรม เห็นไหม รู้ว่านี่คือ สภาวธรรม และรวู้ า่ เหน็ อาการเกดิ ดบั เสยี ง ออ๋ !เสยี งเกดิ ดบั เปน็ แบบนี้ เสยี งเปน็ รปู รปู ไมเ่ ทยี่ ง เขาเกดิ ดบั ยงิ่ เหน็ อาการเกดิ ดบั ของเสยี งเปลยี่ นไป ๆ จติ ยงิ่ ตนื่ ตวั ยงิ่ ผอ่ งใสขนึ้ สวา่ งขนึ้ โลง่ ขนึ้ เบาขนึ้ ถงึ ฟงั อาจารย์ ไม่รู้เรื่อง ไม่เป็นไร แสดงว่ารู้แล้วว่าฟัง แล้วต้องทาอย่างไร รู้อย่างเดียว แต่เข้าถึงธรรมได้ ถือว่าเข้าใจแล้ว นั่นคือสามารถเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานได้ อันนี้เขาเรียกว่า เอาเสียงนั้นมาเป็นอารมณ์กรรมฐาน
เราเคยใช้ ฝกึ ใชแ้ บบนี้ เสยี งอาจารยไ์ มเ่ ปน็ ไร เพราะเสยี งอาจารยพ์ ดู ธรรมะ เราอาจจะใชม้ ากา หนดรู้ มาเปน็ อารมณก์ รรมฐานได้ ถา้ เปน็ เสยี งไมใ่ ชธ่ รรมะ ใชไ้ ดไ้ หม...ไมแ่ นใ่ จ ไมไ่ ดเ้ หรอ ทา ไม? เสยี งกค็ อื เสยี ง เออ่ !เสยี งกค็ อื เสยี ง โดยเฉพาะเวลาเสยี งบน่ นนี่ ะ เอามาใชไ้ ดเ้ ลย เสยี งบน่ กค็ อื เสยี งธรรมะ เสยี งเขาพดู ซา้ ๆ เหมือนสภาวธรรมที่เกิดซ้า ๆ ๆ เกิดซ้า ๆ สอนอะไรเราน้า! เสียงบ่นนี่พูดซ้า ๆ เราก็ลองดูสิ แทนที่จะไป รู้ภาษา รู้เรื่องราว นั่ง...ตั้งจิตสงบ...นิ่ง ไปรู้คาพูดแล้วดับ ๆ ๆ คนฟังนั่งยิ้ม คนพูดหน้าเครียด ใครทุกข์?
ไม่ใช่ว่าคนพูดทุกข์ คนฟังสบาย ฟังให้เป็น เขาเรียกว่า ตรงนี้คือเราเจตนาที่จะรู้สภาวธรรม คือรู้ อาการพระไตรลักษณ์ เอามาเป็นอารมณ์กรรมฐาน อันนี้ในกรณีที่เราฟังรู้แล้วนะ ฟังรู้แล้วว่าเขาพูดอะไร


































































































   35   36   37   38   39