Page 16 - ดับตัวตน ค้นธรรม
P. 16
8
ดับอย่างไร” ดี/ไม่ดีเรารู้อยู่แล้ว เพราะ “สัญญา” ทาหน้าที่ของเขา ตัดสิน เรื่องราวที่เกิดขึ้น
รู้ว่าความคิดไม่ดีเข้ามาแล้ว เราก็โมโหว่าทาไมเราต้องคิดไม่ดี โมโหก็คืออาหารของกิเลสนั่นเอง ยิ่งไม่พอใจกิเลสก็จะยิ่งเยอะขึ้น เพราะ ฉะนนั้ วธิ กี ค็ อื วา่ ความคดิ ขนึ้ มา... เกดิ ดบั อยา่ งไร ? ในการกา หนดรคู้ วาม คิดก็ใช้หลักการเดียวกันกับการกาหนดรู้เวทนา เมื่อมีความคิดเกิดขึ้นมา ลองสงั เกตดวู า่ จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ คู้ วามคดิ กบั ความคดิ เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั หรือคนละส่วนกัน ? สิ่งที่ทาให้ความคิดยึดเกาะก็คือความเป็นเรา ไม่ใช่ รูป! เวทนายังอาศัยรูปอยู่ การละรูปเป็นเรื่องยาก แต่การละตัวตนนั้นง่าย เพราะไม่มีอะไรให้เขาเกาะ เขาเป็นนามธรรม
เพราะฉะนั้น ถ้าเรากาหนดรู้ว่าความคิดที่เกิดขึ้นมาเขาเกิดดับ อย่างไร และสังเกตว่า ความคิดที่เกิดขึ้นกับจิตที่ทาหน้าที่รู้เป็นคนละ สว่ นกนั ความคดิ เขาจะลอยเขา้ มาแลว้ กผ็ า่ นไป ลอยเขา้ มาแลว้ กผ็ า่ นไป... ที่ผ่านไม่ได้เพราะมีเราเป็นผู้รับอยู่เสมอ ตรงนี้เขาเรียกคิดอย่างมีตัวตน และที่เรารับนี่ก็กลายเป็นชอบไม่ชอบนั่นแหละ เพราะฉะนั้น ถ้าเราดับ ความรสู้ กึ พอใจ/ไมพ่ อใจ หรอื ละความชอบ/ไมช่ อบ พอใจทจี่ ะรคู้ วามคดิ ที่เกิดขึ้นว่าเขาเกิดดับอย่างไร - เรื่องนี้ขึ้นมา ดับแบบนี้... มีแล้วหมดไป มแี ลว้ หายไป... ตรงนคี้ วามคดิ กจ็ ะจบงา่ ยขนึ้ แลว้ จติ จะจดั ระเบยี บตวั เอง ได้ง่ายขึ้น
เพราะฉะนั้น ในการพิจารณาความคิด เขาเรียก “ดูจิตในจิต” นี่ ขอให้มีเจตนาที่จะรู้ว่าความคิดเกิดดับอย่างไร อันนี้อย่างหนึ่ง ตามหลัก ของวิปัสสนาพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์แล้ว ต้องพอใจที่จะรู้ว่าเขา เกิดดับอย่างไรเป็นหลัก - เกิดอย่างไร ดับอย่างไร เกิดแล้วหมดไป...