Page 285 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 285
ยงั สงั เกตกา หนดรดู้ รู า่ งกายหรอื รปู ได้ ใชง้ านพจิ ารณาดแู ขนดขู า พจิ ารณา ดูตัว ดูศีรษะ ดูอวัยวะต่าง ๆ ก็ว่างเปล่าไปทั้งหมด เพราะฉะนั้น ในเมื่อ เราสามารถใช้จิตที่ว่าง ว่างจากตัวตน ว่างจากความเป็นเรา พิจารณารูปนี้ ได้ ยิ่งพิจารณาดูแล้วรูปนี้ว่างเปล่า แล้วถ้าเป็นอารมณ์อื่น ใช้จิตที่ว่างจาก ตัวตนอันนี้พิจารณาได้ไหม ? อย่างเช่น ขณะที่ได้ยินเสียง ใช้จิตที่ว่างจาก ตัวตน ว่างจากความเป็นเรา ใช้จิตที่เบาจิตที่ว่างนี้ไปพิจารณากาหนดรู้ เสียง... กาหนดรู้อย่างไร ?
การกาหนดรู้เสียง เราจะรู้แบบบัญญัติ รู้เรื่องราวของเสียงที่เกิด ขึ้น กับรู้ถึงธรรมชาติของเสียง ธรรมชาติของเสียงมีลักษณะเกิดขึ้น- ตั้งอยู่-ดับไป เป็นเส้น มีความคมชัด มีความหนัก/ความเบา มีความ เปลี่ยนแปลงอย่างไร นั่นคือพิจารณาถึงอาการพระไตรลักษณ์ของเสียง เราพจิ ารณาแบบเดยี วกนั กบั พจิ ารณารา่ งกายนแี่ หละ เสยี งเปน็ ของเรา เรา เป็นผู้ได้ยินเสียง เสียงเป็นของใครหรือเปล่า มีบุคคลเกิดขึ้นหรือเปล่า ? หรือว่าใช้จิตที่ว่าง ๆ เข้าไปกาหนดรู้ แล้วก็เห็นแค่เสียงนั้นปรากฏอยู่ใน ที่ว่าง ๆ กาลังประกาศตน “นั่นคือเสียงนะ” เสียงเกิดขึ้นมาทาหน้าที่อย่าง นี้ ๆ แล้วก็ดับไป หมดไป หายไป...
ตรงนี้คือการพิจารณาถึงความเป็นจริงที่เป็นสภาวธรรมที่กาลัง ปรากฏ การพิจารณาแบบนี้เพื่ออะไร ? การพิจารณาในลักษณะอย่างนี้ การเหน็แคว่่าเป็นเสยีงดงัเสยีงหนกัเสยีงเบาเกิดขึ้นมาแลว้ดบัไปมแีลว้ หมดไป มีแล้วหายไป ลองพิจารณาดูว่า การกาหนดรู้ด้วยจิตที่ว่างแบบนี้ เสียงเหล่านั้นปรุงแต่งจิตได้ไหม ทาให้จิตเกิดความขุ่นมัว ทาให้อกุศล ทาให้กิเลสเกิดขึ้นได้หรือเปล่า ? นี่คือการพิจารณาสภาวธรรม/พิจารณา ธรรมะด้วยหลักไตรลักษณ์ คือความเป็นอนิจจลักขณะ ทุกขลักษณะ
281