Page 287 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 287

ทีนี้ การพิจารณาสภาวธรรมที่เกิดขึ้นด้วยจิตที่ไม่มีตัวตนไม่มีเรา ถงึ แมก้ า หนดรอู้ ารมณบ์ ญั ญตั กิ ต็ าม อยา่ งเชน่ การเหน็ ถงึ ความเปน็ คนละ ส่วนระหว่างจิตที่ว่างจากความเป็นตัวตนกับเสียงที่เกิดขึ้น แล้วเห็นว่า เสียงนั้นปรากฏอยู่ในที่ว่าง ๆ ถึงแม้จะรู้เรื่องราวว่าเสียงนั้นหมายถึงอะไร เป็นเสียงอะไรก็ตาม การได้เห็นถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างจิตกับ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ เพยี งเทา่ นนั้ ทกุ ขเวทนาทางจติ กไ็ มเ่ กดิ ขนึ้ แลว้ นนั่ คอื เหน็ ว่าการรับรู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตนนั้นดีอย่างไร ถ้าดีกับชีวิตเรา ทาให้ ความทุกข์ของเราลดลง ถามว่า ควรจะเอาจิตที่ไม่มีตัวตน/จิตที่ดีแล้วนี้ มาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันไหม ควรทาให้ชัดเจนแจ่มแจ้งยิ่งขึ้นไหม ? นั่นคือส่วนหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติพึงพิจารณา
การที่ผู้ปฏิบัติสามารถกาหนดรู้ถึงความเป็นอนัตตา ลองถามตัว เองดูว่า การรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีเรา ไม่มีใคร มีแต่ สต-ิ สมาธ-ิ ปญั ญารบั รู้ ดไี หม ดอี ยา่ งไร ? ถา้ เมอื่ ไหรท่ ผี่ ปู้ ฏบิ ตั บิ อกตวั เอง ได้ว่า การรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีเรานั้น ทาให้จิตเกิด ความอิสระ มีความสบาย มีความผ่องใส แล้วรู้สึกเป็นสิ่งมีค่าสาหรับชีวิต ตนเอง ก็จะมีความขยันหมั่นเพียรที่จะใช้จิตประเภทนี้เป็นปกติในชีวิต ประจา วนั ใชจ้ ติ ประเภทนรี้ บั รทู้ กุ ๆ อารมณ์ ไมว่ า่ จะเปน็ รปู เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอาการของรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ที่เกิดขึ้น ก็จะมีเจตนา/ยินดีพอใจที่จะรับรู้ด้วยความรู้สึกที่ ไม่มีตัวตน ด้วยจิตที่ว่าง จิตที่สงบ จิตที่ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ
ทีนี้ การรับรู้แบบนี้ไม่ใช่แค่รับรู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตนอย่าง เดยี ว อกี อยา่ งหนงึ่ ทพี่ งึ พจิ ารณากค็ อื วา่ การรบั รอู้ ารมณต์ า่ ง ๆ ดว้ ยความ รสู้ กึ ทไี่ มม่ เี รานนั้ ตอ้ งพรอ้ มทจี่ ะทา ความเขา้ ใจ เพราะเราศกึ ษาธรรมะ การ
283


































































































   285   286   287   288   289