Page 286 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 286
282
อนัตตลักขณะ แต่การพิจารณาแบบนี้ไม่ได้หมายความว่าผู้พิจารณานั้น ไม่สนใจบัญญัติหรือไม่รับรู้ถึงเรื่องราวที่กาลังปรากฏ
โดยธรรมชาตโิ ดยปกตแิ ลว้ การรบั รอู้ ารมณส์ ว่ นใหญใ่ นขณะแรก ที่รับรู้นั้น พอมีผัสสะปรากฏขึ้นมา มักจะเข้าใจหรือรู้บัญญัตินั้นเป็น เบื้องต้นอยู่แล้ว เพราะสัญญาเก่าเราจาได้ว่าเสียงนี้เป็นเสียงอะไร เป็น เสียงบุคคล เสียงเครื่องจักร เสียงธรรมชาติต่าง ๆ เสียงใบไม้ เสียงลม... ซึ่งเป็นสัญญาที่จะปรากฏขึ้นมา รู้ได้อยู่แล้วในขณะแรก เพียงแต่ว่าการ เจริญกรรมฐานที่เป็นไปเพื่อการดับทุกข์ เพื่อพัฒนาสติปัญญาให้แก่กล้า ยิ่งขึ้นไป ก็ต้องกาหนดรู้ถึงอาการพระไตรลักษณ์ให้มากที่สุด เพิกฆน- บัญญัติให้เร็วเพื่อเข้าสู่สภาวะที่เป็นอารมณ์ปรมัตถ์ ยิ่งเพิกบัญญัติได้เร็ว เทา่ ไหร่ การปรงุ แตง่ กน็ อ้ ยลง อาการพระไตรลกั ษณก์ ย็ งิ่ ชดั ขนึ้ สต-ิ สมาธิ ก็จะแก่กล้ายิ่งขึ้น เห็นสภาวะที่แยบคายมากยิ่งขึ้นไป
ถ้าเราพิจารณาย้อนกลับไป เราจะเห็นว่าทุก ๆ อารมณ์ที่เข้ามาก ระทบทางตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ แลว้ ทา ใหม้ เี วทนาทางจติ ทเี่ ปน็ ฝา่ ยอกศุ ล หรือเป็นทุกข์โทมนัสเกิดขึ้นมา ส่วนใหญ่ก็เป็นการรับรู้ในลักษณะที่เป็น บัญญัติอยู่แล้ว เมื่อไหร่ที่เป็นฆนบัญญัติ ความเป็นรูปร่างเรื่องราวเป็น บคุ คลเกดิ ขนึ้ มา เวทนาทปี่ รากฏเกดิ ขนึ้ มากจ็ ะเปน็ ทกุ ขเวทนาเปน็ โทมนสั เวทนาเป็นส่วนใหญ่ เพราะฉะนั้น การที่กาหนดรู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มี ตัวตนด้วยจิตที่ไม่มีเรา มีแต่สติ-สมาธิ-ปัญญาพิจารณาถึงการเกิดขึ้น- ตั้งอยู่-ดับไปให้เร็ว อายุอารมณ์ก็จะสั้นลง การยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา พิจารณาอาการเกิดดับอย่างต่อเนื่อง ที่เรียกว่าเป็น “การเจาะสภาวะ” ก็ พจิ ารณาถงึ ความตา่ งของการเกดิ ดบั ของอารมณน์ นั้ ๆ วา่ เปน็ ไปในลกั ษณะ อย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร