Page 153 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 153
135
แล้วนาไปใช้ แต่ทีนี้เรามีปัญหาอยู่ว่า อยู่ ณ สถานที่แห่งนี้ เราทาอะไรช้า ๆ พอกลับไปทางาน ต้องใช้ชีวิตแบบรวดเร็ว เร่งรีบ กลัวว่าสติเราจะตามไม่ทัน อาการของตัวเอง
การที่เราเดินช้า ๆ เจตนาที่เราทาให้ช้า เพราะเป็นการฝึก ฝึกที่จะรู้ อยู่กับอาการอย่างหนึ่ง แล้วอีกอย่างหนึ่งก็คือ เราฝึกที่จะสังเกตรายละเอียด ของอาการของรูปนามว่าเป็นไปในลักษณะอย่างไร นี่คือดูธรรมชาติของ รูปนาม เพราะฉะนั้น ถ้าเราเร็วเกิน อาการเกิดดับเหล่านี้จะไม่ชัด เพราะ สติของเรายังไม่ไวพอ หรือสมาธิของเรายังไม่มีกาลังพอ ก็จะตามไม่ทัน หรือสังเกตอาการเกิดดับไม่ชัดเจน แต่ถ้าเราไปอยู่ข้างนอก เราไม่ต้องมา สังเกตรายละเอียดตรงนี้ก็ได้ เรารู้ทันที จริง ๆ แล้ว ถ้าให้รู้เร็ว ให้รู้สึกทันที โดยไม่ต้องค่อย ๆ ย่อง “รู้สึกชัดถึงอาการนั้นทันทีเลย”
คนที่ทางานเร็วหรือจิตสั่งงานเร็ว ไม่ต้องช้าหรอก แค่ “เพิ่มความ สงบ” ให้กับจิตตัวเอง แล้วสติก็จะดี ความสงบไม่ใช่นิ่ง ๆ เฉย ๆ นะ ความ สงบกับความน่ิงเฉย คนละอย่างกัน! แต่ความนิ่งทาให้ความสงบเกิดขึ้น ถ้านิ่งแล้ว จิตเราจะนิ่ง ๆ แคบ ๆ บางครั้งนิ่ง ๆ เฉย ๆ ก็อึดอัด แต่ถ้า เป็นความสงบ เราจะรู้สึกเย็น นั่นคือความต่างของเขา ลองสังเกตดูแล้วกัน
ทีนี้มาถึงตรงที่ว่า จะเอาไปใช้ในชีวิตได้อย่างไร ? ที่จริงแล้วเรา ต้องสังเกตว่า เมื่อเรามาทาอะไรช้า ๆ ตรงนี้ เห็นอะไร ทาอะไรช้า ๆ แล้ว สติเราเป็นอย่างไร ? จิตเราเป็นอย่างไร ? เขาสอนอะไรให้เราบ้าง ? แล้ว เราจะนาไปใช้กับชีวิตประจาวันเราได้อย่างไร ? ตรงไหนที่ในชีวิตประจาวัน เราทา แลว้ รสู้ กึ วา่ มากเกนิ ไป ทเี่ ราจา เปน็ ตอ้ งลด เรากใ็ ชห้ ลกั อนั นเี้ ขา้ ไปลดมนั อันไหนที่รู้สึกว่าน้อยเกินไป เราก็เพิ่มเสีย วิธีเพิ่มตัวที่น้อยก็คือสติ เรารู้สึกว่า สติเราน้อย ฟุ้งซ่าน วุ่นวาย หรือสมาธิเราน้อย วิธีเพิ่มคือ แค่ “เพิ่มความนิ่ง”
อกี อยา่ งหนงึ่ ทบี่ อกวา่ ทา จติ ใหว้ า่ ง แลว้ เอาจติ ทวี่ า่ งไปใชใ้ นชวี ติ ประจา วันของเรา ทาจิตให้ว่างแล้วเติมความสุขลงไป แล้วเอาจิตที่ว่างที่มีความสุข