Page 176 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 176

158
เราจะเห็นเจตนาของเรา เพราะฉะนั้น ต้นจิตจึงเป็นสิ่งสาคัญ
ดังนั้น หลักสาคัญในการเจริญวิปัสสนาก็กล่าวมาก็พอสมควร ให้ หลักกว้าง ๆ รายละเอียดอย่างอื่นอยู่ที่โยคีปฏิบัติแล้วอะไรจะปรากฏขึ้น มา ถ้าสงสัย เราค่อยคุยกัน... เราต้องคุมใจของเราเองว่าเรามาทาไม เรามา ปฏิบัติธรรมนะ เรามาดูใจของเรา มาเจริญสติของเรา เราต้องมีสติเยอะ ๆ เราต้องตั้งใจ และมีเจตนา และทาจริง ทาไมอาจารย์จึงให้สมาทานกรรมฐาน ขอให้การปฏิบัติของข้าพเจ้า จงเป็นไปเพื่อมรรค ผล นิพพานโดยฉับพลัน ? ต้องมีเป้าหมายนะ! พอเราสมาทานแบบนี้ ความเพียรความตั้งมั่นของจิต เราต้องเพิ่มอย่างที่เราปรารถนา ไม่ใช่สักแต่ว่า สักแต่ว่าเมื่อไหร่ไม่ดี สักแต่
ว่าเมื่อไหร่ก็จะเรื่อย ๆ
ถ้าปฏิบัติ ต้องมีความมุ่งมั่น! อาจารย์นึกถึงพระจักขุบาล เพียร ไม่
หลับไม่นอนจนตาบอด เพียรเดินจงกรม นั่งสมาธิ เดินจงกรม นั่งสมาธิ แม้ ตาบอดก็ยอม ดูสิว่าความมุ่งมั่นของท่านมากน้อยแค่ไหน! สมัยพุทธกาลยัง ต้องอาศัยความเพียรถึงขนาดนั้น เราอยู่ห่างตั้งหลายปี ถ้าเราเพียรน้อย แล้ว จะให้เท่าท่าน ก็...น่าคิด ใช่ไหม ? เราก็ต้องลองดู เท่าที่ทาได้ และทาเต็มที่ ผลย่อมเกิดแน่นอน!
เพราะฉะนั้น วิธีกาหนดอารมณ์ อย่างที่บอกแล้วว่า ให้มีสติรู้อยู่กับ ปัจจุบัน มีเจตนาที่จะรู้อาการเกิดดับ และการกาหนดอารมณ์ที่จะได้ปัจจุบัน นั้น สมมติว่าเรากาหนดพองยุบ สติหรือจิตของเรา ต้องอยู่ที่เดียวกับพองยุบ แนบไปกับพองยุบ ถ้าสติอยู่ห่างจากพองยุบเมื่อไหร่ ให้เข้าไปอยู่ใกล้ ๆ เขา เรียก “วางตาแหน่งของสติตัวเองให้อยู่ที่เดียวกับอาการ” ถ้าเราวางตาแหน่ง ของสติ “อยู่ที่เดียว” กับอาการ เราก็จะกาหนดได้ปัจจุบัน
ถ้าอยู่คนละที่เมื่อไหร่ ก็กลายเป็นผู้ดู ตามดูเฉย ๆ ดูว่าเขาเป็น อย่างไร เปลี่ยนอย่างไร แล้วเราก็จะรู้สึกว่าทาไมอาการพองยุบเรายังเหมือน เดิม ไม่เปลี่ยน ยังชัดเท่าเดิม หรือบางทีก็น้อยลง เบาลง บางลง หายไป...


































































































   174   175   176   177   178