Page 213 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 213

195
สภาพจิตใจเรารู้สึกอย่างไร ? คล้อยตามอารมณ์ หรือแยกส่วนจากอารมณ์ ? จิตใจรู้สึกยินดีในอารมณ์อันนั้น หรือมีแต่ความรู้สึกที่ว่าง ๆ ทาหน้าที่รับรู้ เสียงที่เกิดขึ้น ?
และอีกอย่างหนึ่ง ปัญญาที่พิจารณาเห็นถึงความไม่เที่ยงของอารมณ์ ที่เกิดขึ้น ของรูปที่กาลังปรากฏอยู่เฉพาะหน้าเรา ความไม่เที่ยงคือการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ กับลักษณะที่เป็นทุกขลักษณะ ลักษณะของความ ทุกข์ที่ตั้งอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ เกิดขึ้นแล้วต้องดับไป มีแล้วหายไป ไม่ใช่ ทุกขเวทนา “ทุกขานุปัสสนา” ตามรู้ลักษณะของความทุกข์ เกิดขึ้นแล้วดับ ไป มีแล้วหายไป ถ้าตามกาหนดรู้ทุกขเวทนา รู้อาการปวด รู้อาการเมื่อย อาการชา อาการคัน แต่ทุกขลักษณะที่เกิดขึ้น เขาแสดงถึงความตั้งอยู่ใน สภาพเดิมไม่ได้ เกิดแล้วต้องดับไป มีแล้วหายไป ให้อยู่อย่างนั้นไม่ได้
อารมณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ล้วนตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น เป้าหมายการ กาหนดรู้ของวิปัสสนา จึงพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์ของอารมณ์ต่าง ๆ ถามว่า เรารู้แล้วว่าอารมณ์ต่าง ๆ อาการของรูปนามของขันธ์ ๕ ตั้งอยู่ในกฎ ของไตรลักษณ์พอหรือยัง ? เรารู้แล้วยังไม่พอหรือ ? ก็เรารู้แล้วเข้าใจแล้ว เรารู้แล้วว่าขันธ์ ๕ เป็นของไม่เที่ยง ตั้งอยู่สภาพเดิมไม่ได้ เกิดขึ้นแล้วดับ ไป มีแล้วหายไป บังคับบัญชาไม่ได้... ลองย้อนกลับมาถามตัวเองว่า แล้ว เรา “ละ” ได้หรือยัง ? เรายังทุกข์กับเขาอยู่หรือเปล่า ? อันนั้นเป็นตัวบอก ว่าเรา “เห็น” หรือ เรา “รู้”
เห็นจริง ๆ เข้าถึงการเปลี่ยนแปลงจริง ๆ หรือคิดว่าเพราะเรา รู้แล้ว ? ถ้าเราแค่รู้ แต่ไม่สามารถดับทุกข์ได้ ถามว่า ประโยชน์อะไร ? เพราะ การกา หนดรถู้ งึ อาการเกดิ ดบั ของรปู นามกค็ อื เปน็ ไปเพอื่ ความดบั ทกุ ข์ ฉะนนั้ ข้อพิสูจน์ก็คือว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งปรากฏขึ้นมา ไม่ ว่าจะเป็นอาการของรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณที่เกิดขึ้น เมื่อเรามี


































































































   211   212   213   214   215