Page 219 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 219

201
ไม่ชอบไง! ความไม่ชอบ ปฏิเสธอารมณ์อันนั้น แล้วเราก็คร่าครวญอยู่ ไม่ น่าเลย ไม่น่าอย่างนั้นไม่น่าอย่างนี้ แทนที่จะกาหนดอารมณ์ปัจจุบัน เราก็มัว แต่ตาหนิสิ่งนั้นสิ่งนี้รอบตัวเยอะแยะมากมาย ลืมตาหนิตัวเองว่าไปสนใจ ทาไม เขาก็ผ่านไปแล้ว เสียงดังกริ๊งเดียวหาย แต่ความขุ่นใจตั้งอยู่ตั้งนาน ที่จริงความขุ่นใจน่าจะดับเร็วกว่า เพราะความขุ่นใจเป็นนาม รูปดับช้ากว่า นามตั้งหลายเท่า แต่ความขุ่นใจของเราตั้งอยู่ตั้งนาน เพราะอะไร ? เพราะ เราไม่ได้ดูจิตของเรา ไม่ได้กลับมาดับที่จิตเรา ถ้ากลับมาดับที่จิตของเรา ก็ ใช้เวลาไม่นาน
ถ้าเราปฏิเสธอารมณ์แบบนั้น เรากลับไปบ้าน เราปฏิเสธไม่ได้หรอก เราก็เครียดทั้งวันเหมือนเดิม แต่ถ้าเรารับรู้อย่างนี้ได้ อะไรเกิดขึ้นมา พร้อม ที่จะรู้ พร้อมที่จะเข้าใจ มีเจตนาเข้าไปรู้อาการเกิดดับของทุก ๆ อารมณ์ที่ เกิดขึ้นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี่คือการเจริญสติ แล้วเราจะทาได้เป็น ปกติในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะอยู่ที่นี่หรือที่บ้านก็ตาม ถ้าเรามีความพอใจที่ จะกาหนดรู้ เราสามารถ “เลือก” ที่จะกาหนดรู้ได้ว่าจะรู้แบบไหน จะเข้าไปรู้ อาการเกิดดับ หรือจะไปรู้เรื่องราวที่กาลังปรากฏอยู่ บางเรื่องเราไม่อยากฟัง แต่จาเป็นต้องฟัง ทาอย่างไร ? จะไม่ให้เสียงนั้นดังได้ไหม ? ก็ไม่ได้ ทาได้ อย่างเดียวคือ “ทาใจ”
ทาใจอย่างไรถึงจะไม่ถูกกระทบ และไม่เกิดความราคาญในอารมณ์ ที่เกิดขึ้น ? ทาใจของเราให้ว่าง ทาใจของเราให้กว้าง ๆ พร้อมที่จะรับรู้ ให้ แยกส่วนระหว่างใจที่ทาหน้าที่รู้ ที่ว่าง ที่กว้าง กับ เสียงที่ได้ยิน ลองดูนะ ขณะที่อาจารย์พูด ทาใจให้ว่าง ๆ ให้กว้าง ๆ แล้วส่งเสียงอาจารย์ให้ไปอยู่ ไกล ๆ บนท้องฟ้าไปเลย ลองดู รู้สึกเป็นอย่างไร ? ยังได้ยินอยู่ไหม ? แล้ว ใจรู้สึกเป็นอย่างไร ? รู้สึกหนัก เบา สงบ รู้สึกสบายไหม ? (โยคีกราบเรียน ว่า สบาย) เราต้องมีเจตนา นี่คือปัญญาของเรา
เราจะวางตาแหน่งของจิตเราไว้อย่างไร ความทุกข์จึงไม่เกิดขึ้น ? วาง


































































































   217   218   219   220   221