Page 264 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 264

246
เอาความรู้สึกว่าเป็นสิ่งนั้นสิ่งนี้ หรือเอาอุปาทานที่เราให้ความสาคัญกับสิ่งนั้น ว่าเป็นของเรา ของเขา เป็นอะไร...
ถ้าเอาความรู้สึกเหล่านั้นออกจากใจเราได้ จิตก็จะว่าง แต่ถ้าเอาออก ไม่ได้ ก็ยังให้ความสาคัญกับสิ่งนั้น เห็นเมื่อไหร่ มันก็จะชนเข้ามาถึงใจเราทุก ครั้ง ทุกครั้ง... นั่นแหละเขาเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ผัสสะเกิดขึ้น เวทนาเกิด ขึ้น เวทนาเป็นแบบไหน ? เป็นทุกขเวทนา เป็นอุเบกขาเวทนา หรือเป็นสุข เวทนา ? ถ้าเราพิจารณา ไม่มีเราไม่มีเขา เห็นความเป็นคนละส่วนระหว่าง จิตกับอารมณ์ที่ปรากฏขึ้นมา เวทนาทางจิตที่เกิดขึ้นคือ สุขเวทนา สบายใจ หรืออุเบกขาเวทนา จะรู้สึกว่าง ๆ เฉย ๆ เขาไม่มีอิทธิพลต่อเรา
แมแ้ ตบ่ างทที เี่ รารสู้ กึ วา่ ไมม่ อี ะไร อเุ บกขากย็ งั มรี สชาตขิ องอเุ บกขานะ แกงจืดเรายังรู้รสชาติเลย ใช่ไหม ? แกงจืดนี้ไม่อร่อยเลย จืดไป! แกงจืด ก็ยังมีรสชาติ จิตเราก็เหมือนกัน แม้แต่อุเบกขา ก็ต้องรู้ว่าอุเบกขาแบบไหน อุเบกขาที่กว้าง อุเบกขาที่แคบ ลองดูนะ จิตที่อยู่เฉย ๆ ให้เท่ากับตัวเรา รู้สึกเป็นอย่างไร ? แล้วให้จิตที่เฉยนี่กว้างออกไป ต่างกันไหม ? นั่นแหละ คือความรู้สึกเรา
เพราะฉะนั้น อุเบกขาแบบไหนใจเราถึงจะอิสระ ? อุเบกขาแล้วกิเลส เกิดง่าย กับอุเบกขาแล้วกิเลสเกิดยาก อุเบกขาแบบมีตัวตน อุเบกขาแบบ “เรา” อุเบกขา “เรา” เฉย... เราจะปฏิเสธอารมณ์ ถ้าอุเบกขาแบบไม่มีตัวตน อุเบกขากว้าง เราไม่ปฏิเสธอารมณ์ และพร้อมที่จะเข้าใจ พร้อมที่จะรู้อารมณ์ ที่ปรากฏขึ้นมานั้นเป็นอย่างไร ตรงนี้จิตก็จะอิสระ ไม่ยากหรอก แต่ต้องเอา ไปใช้บ่อย ๆ
ธรรมะเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นสาหรับชีวิตของเรา แต่เราให้เวลากับ ธรรมะน้อยมาก ให้เวลากับอย่างอื่นมากี่สิบปีแล้ว เพิ่งจะขยับ ๆ มาให้เวลา กับธรรมะ ใช่ไหม ? ให้เวลานิดเดียว แต่อยากได้เยอะ! ถ้าเปรียบเทียบกัน เราให้เวลากับธรรมะไม่กี่เปอร์เซ็นต์ เรายังได้ขนาดนี้ ถ้าเราให้เวลากับธรรมะ


































































































   262   263   264   265   266