Page 265 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 265

247
เท่ากับเราให้อย่างอื่น ดูว่าจะเป็นอย่างไร ? นี่แหละชีวิตของเรา เราบอกว่า ธรรมะเป็นสิ่งสาคัญ ใครก็รู้ว่าธรรมะเป็นของดีที่วิเศษ แต่ชวนให้ไปเอา ไม่ เอา! ชวนไปปฏิบัติธรรม ไม่มีเวลา! ชวนไปปฏิบัติธรรม ยังไม่ถึงเวลา ยังไม่ พร้อม ยังมีกิเลสเยอะอยู่! ถ้าไม่มีกิเลสแล้วก็ไม่ต้องมาปฏิบัติหรอก เพราะ เรามีนั่นแหละเราจึงต้องทา!
ตอนนี้เราไม่มีความทุกข์ ยังไม่ปฏิบัติหรอก ยังแข็งแรง รอให้ทุกข์ ก่อนค่อยปฏิบัติ... เดี๋ยวก็ โอย! ทุกข์มากเลย ไปไม่ไหวแล้ว... มีข้ออ้าง ไปเรื่อย ๆ ๆ จนถึงเวลาสุดท้าย เสียดายยังไม่มีเวลาปฏิบัติ สังขารไม่เอื้อ อานวย... ก็มีปัญหาใหม่ขึ้นมาอีก เพราะฉะนั้น จึงบอกว่าไม่ต้องผลัดวัน ถ้า เราเห็นว่าเป็นสิ่งสาคัญสาหรับชีวิต ถ้าเป็นสิ่งดี จงมีความพอใจ และหมั่น เพียร! ไม่ต้องซีเรียส แต่ “จริงจัง” นิดหนึ่ง
อาจารย์สังเกตว่า วิธีปฏิบัติยาก ๆ เราตั้งใจมากเลย เวลาปฏิบัติ ง่าย ๆ เราก็พลอยปล่อยไปด้วย เราเพียรเท่าเดิม ปฏิบัติได้ง่ายขึ้น ก็จะเร็ว ขึ้น พอปล่อยปฏิบัติตามอัธยาศัย เราก็สบาย ๆ บางทีเดิน ๆ ใจไม่รู้อยู่ตรง ไหนหรอกขณะทเี่ดนิกาหนดสตไิมร่วู้า่อย่ทูเี่ทา้หรอือย่ทูไี่หนเลยเดนิจงกรม ไปก็เพลิน คิดบ้างอะไรบ้าง... ถามว่า กาหนดแล้วเป็นอย่างไร ? ไม่ได้อะไร เลย กาหนดไม่ทัน นั่นเพราะว่าเราไม่มีอารมณ์หลัก
เวลาเดินจงกรม ถ้ากาหนดไม่ทัน ให้เริ่มจากช้า ๆ ถ้ากาหนดทันแล้ว เร็วแค่ไหนก็ได้ จะวิ่งออกกาลังกายเราก็ทาได้ คือสติเราไว ไม่ใช่ช้าแล้วดี ไวแล้วดี อยู่ที่ว่าสติเราทันตอนไหน เราก็ต้องใช้แบบนั้น ถ้าไวไป สติไม่ทัน ไวไปก็ไม่เกิดผลอีก กลายเป็นว่าไปเรื่องอื่นอีก! แต่ถ้าช้าเกินไป แล้วอึดอัด ไม่ดีอีก! เราก็ต้องปรับให้สมดุลกัน ทีนี้ว่า จะช้าหรือเร็ว ? สิ่งที่ดีก็คือ ให้ สติเรารู้อยู่กับปัจจุบัน สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง อาการเกิดดับของเขา
และอีกอย่างหนึ่ง สาหรับนักปฏิบัติ สิ่งที่จะใช้ได้ประโยชน์ที่สุดใน ชีวิตประจาวันของเรา การที่เรากาหนดรู้ต้นจิต อิริยาบถย่อย แล้วก็สภาพ


































































































   263   264   265   266   267