Page 303 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 303
285
อุเบกขาไม่ใช่ว่าไม่พอใจ บางอารมณ์ที่ต้องอุเบกขา ต้องวางเฉย เฉยมีเจตนาที่จะเฉยด้วยนะ เฉยทาไม ? เฉยเพื่ออะไร ? อันนี้ต้องมีเจตนา ไม่ให้อยากเฉยไม่มีเหตุผล เฉยเพราะว่าต้องเฉย เฉยเพื่อให้เขาสานึก เมตตาแล้วไม่รู้สึกตัว เฉยเพื่อให้เขารู้สึกตัว อยู่ที่ว่าเจตนาของเราใช้แบบ ไหน บางคนต้องใช้เมตตาเข้าไปถึงจะรู้สึก พอให้เมตตาเยอะ ๆ เขาก็รู้สึกตัว เขาได้รับสิ่งดี ๆ เหมือนกับถ้าคนนั้นดีอยู่แล้ว ให้เมตตา ความดีเขาจะ เพิ่มขึ้น ตรงนี้แล้วแต่บุคคล.. นอกเรื่องแล้วนะ คุยนอกเรื่องการปฏิบัติแล้ว
เพราะฉะนั้นจิตที่เราใช้ ที่เราฝึกจิต เติมความสุขได้ ทาจิตให้ว่างได้ ใหส้ งบได้ กใ็ ชก้ บั เรอื่ งตา่ ง ๆ เหลา่ นแี้ หละ แตล่ ะเรอื่ งเราจะใชจ้ ติ ประเภทไหน ในการรับรู้ จะใช้ความอ่อนโยนตลอดเวลาก็ไม่ได้ บางทีก็ต้องอุเบกขา ต้อง เฉย ๆ ใช้ความสงบรับรู้ ใช้ความว่างเป็นตัวรับรู้... นอกเรื่องไป ลืมเลยตอน แรกว่าจะพูดเรื่องอะไร.. จาได้ไหม ?
“ปัญหาหลักเลยที่นักปฏิบัติติดคืออะไร ?” ใช่ไหม ? ต้องจาของ ตัวเองนะ จาเผื่อคนอื่น จาของตัวเองว่าการปฏิบัติเราต้องรู้สภาวะของเรา อย่างหนึ่งนะ.. ต้องเอาจริง แล้วรู้สภาวะของเราว่า เวลาเราปฏิบัติ สภาวะ เราเป็นยังไง ? และไปหยุดตรงไหน ? ที่ทาต่อไม่ถูกเป็นอย่างไร ? อันนั้น มาถามหรือมาเล่าให้ฟัง แล้วจะสานต่อได้ง่าย ถ้าทั่ว ๆ ไปกว้าง ๆ เนี่ย ที่อาจารย์พูดเนี่ย เผื่อกว้าง ๆ เลยนะ ตรงไหนถ้าจาได้ แล้วไปสานต่อและ ทาต่อได้ ก็ทาต่อไปเลย
เพราะฉะนั้นเวลากาหนดอารมณ์หลักต้องชัดเจน ให้รู้ว่าขณะนี้ดู อะไร ? กาหนดอะไร ? รูป เสียง กลิ่น รส หรืออิริยาบทย่อย ขณะที่สัมผัส ขณะที่หยิบจับ ขณะเคลื่อนไหว หรือกาหนดเวทนา อย่างเช่น กาหนดที่รูป หรือลมหายใจ หรือว่ากาหนดความคิด หรือกาหนดความปวด หรือว่าตามรู้ อาการของแสงที่มีการเกิดขึ้นและเปลี่ยน เกิดดับ เกิดดับตลอดเวลา หรือ เอาจิตเราเข้าไปในความว่าง อันนี้ต้องรู้ชัด ทีนี้มาเล่าให้ฟังว่า ทาอย่างนี้แล้ว