Page 310 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 310

292
อาการเคลื่อนไหวของร่างกายของเรา อาการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นคาพูด หรือขยับมือ ยื่นมือ เหยียดมือ คู้มือ ก้าวเท้า ตรงนี้เขา เรียกอาการต่าง ๆ อาการของอิริยาบทย่อย
(ลูกศิษย์ถําม)
อ๋อ..ไม่ใช่สัญญา ถ้าสัญญาเราจะไม่เห็น เราจาได้ แต่รสชาติสภาพ จิตเราไม่เปลี่ยน ถ้าเห็นอาการเกิดดับ จิตเราจะเปลี่ยน แต่ถ้าจาว่าเขามี แล้วหมด มีแล้วหมด จิตเราจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง จะทื่อ ๆ เฉย ๆ ไม่ตื่น ตัว ก็คือไม่ตื่นตัว แต่ถ้าเห็นอาการเกิดดับเมื่อไหร่ จิตจะเปลี่ยน
(ลูกศิษย์ถํามว่ํา เวลํากําหนดอํากํารเกิดดับ ต้องมีคําพํากย์หรือไม่ ?)
ไม่ต้องมีคาพากย์นะ มีก็ได้ไม่มีก็ได้ จริง ๆ แล้วไม่ต้องมีหรอก ไม่ต้องพากย์หรอก สิ่งที่ต้องรู้ก็คือว่าอันนี้เกิดขึ้นมา พอเข้าไปรู้ เขาดับ ยังไง ? นั่นแหละ ไม่ใช่เกิดแล้ว ดับแล้ว เกิดแล้ว ดับแล้ว จะเท่าเดิม สิ่งที่ ต้องรู้ก็คือ เมื่อไหร่ที่เราเอาจิตเข้าไปรู้ว่า เขาเกิด แล้วดับอย่างไร คาพากย์นั้น จะหายไป คาพากย์ก็เหมือนคาบริกรรม จริง ๆ ไม่ต้องพากย์ ไม่ต้องพากย์ ให้ใครฟัง ใช่ไหม ? รู้ด้วยตัวเอง อ๋อ.. ไม่ต้องชิน จะไม่ชิน ให้พอใจที่จะ รู้ว่าเขาเกิดแล้วดับอย่างไรเท่านั้น เป็นสิ่งที่ต้องรู้ ไม่ใช่สิ่งที่ต้องทาให้ชิน เพราะว่าการกาหนดอาการเกิดดับเนี่ย สภาวะการเกิดดับเขาจะเปลี่ยนไป เรื่อย ๆ แต่ต้องพอใจที่จะรู้การเกิดดับ ไม่ใช่ทาให้ชินพอใจที่จะรู้ไปเรื่อย ๆ ต่อไปเมื่อเรามีเจตนาที่จะรู้อาการเกิดดับ ต่อไปก็จะเป็นไปเอง ต่อไปเห็น อะไร ก็จะให้มันเที่ยงไม่ได้แล้ว เห็นตามความเป็นจริงเมื่อไหร่ ก็จะเห็น อาการเกิดดับ
(ลูกศิษย์ถําม)
ใช่.. อย่างเดียวกัน เห็นความไม่เที่ยง การเปลี่ยนแปลงหรือเกิดดับ อย่างเดียวกัน แต่เราใช้คาว่าการเกิดดับ เพราะเราเห็นว่ามีแล้วหมดไป หมดอย่างไร ? ดับในลักษณะไหน ? อันนี้ต้องสังเกตนะ ดับแบบกระจาย


































































































   308   309   310   311   312