Page 346 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 346
328
ลักษณะอย่างหนึ่งก็คือว่า ที่ทาให้ติด พออาจารย์พูดถึงตรงนี้เอาไว้ เราก็จะ ห้ะ !.. เจอสภาวะอย่างนี้ ต้องใช้เบบนี้เลยแหละ ข้ามขั้นตอนเราก็จะติด พอ ไปลัดขั้นตอน ไปใช้วิธีนี้กับสภาวะนี้ กับอีกสภาวะหนึ่งมันไม่เปลี่ยนมัน ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงเพราะกาลังไม่พอ ก็เลยรู้สึกว่ากาหนดไม่ได้หรือทา ไม่ได้ ตอนนี้ก็เลยต้องสะดุดอยู่เรื่อยว่า “พูดเผื่อ”
จริง ๆ สภาวะเนี่ย เวลาเขาเกิดขึ้น อย่างเวลาเราเล่าสภาวะแล้วสอบ อารมณ์ จึงเป็นไปแต่ละขั้นตอนว่าตรงนี้เพิ่มตรงนี้นะ เพิ่มจุดนี้นะ แต่ที่ พูดไปเมื่อคืนนี้ใช้ได้ตลอด ขั้นตอนไหนก็ใช้ได้นะ ขั้นตอนไหนก็ใช้ได้ อย่างเช่นในอิริยาบทย่อย แต่หลักวิธีกาหนดที่เล่าเมื่อกี้น่ะถูกแล้ว ตรงนี้เป็น สภาวะทลี่ ะเอยี ดขนึ้ เยอะเลยนะ ไมใ่ ชแ่ คร่ อู้ าการลมหายใจเขา้ ออก หรอื อาการ พองยุบเท่านั้น นี่เป็นสภาวะที่ละเอียดมากขึ้น ดังนั้นต้องนิ่ง ถามว่าการที่เรา จะสังเกตเห็นอาการมากขึ้น เราจะรู้ได้ยังไง ? หนึ่ง..เราต้องเพิ่มความนิ่ง ขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะที่เรากาหนดอาการ ไม่ใช่เห็นแค่นี้ พอมันห่างไป มันว่างไป แล้วเราก็หยุด แล้วเราก็รอเฉย ๆ รอว่าเมื่อไหร่อาการเมื่อกี้ถึงจะเกิดขึ้น รอว่าเมื่อไหร่อาการลักษณะเหมือนเดิมถึงจะเกิดขึ้น ถ้าเรารออย่างนั้น เรารอประมาณหนึ่งนาที กาลังของเราก็จะลดลง เขาเรียกสติ ของเรามีแค่นั้น แล้วสักพักอาการเดิมก็จะเกิดขึ้นมาอีก เราก็ดีใจ ห้ะ !..เกิดขึ้นมาแล้วก็ดูต่อ จะมีลักษณะอย่างนี้นะสภาวะที่เกิดขึ้น
บางครั้งโยคีไม่เข้าใจ หรือนักปฏิบัติไม่เข้าใจในสภาวะที่เกิดขึ้น อย่างเช่น พอเจอความว่างแล้วก็หยุด บางทีเจอสภาวะที่ละเอียด ฝอย ๆ หรือ บาง ๆ กระเพื่อมเคลื่อนไหวเหมือนพยับแดดอะไรอย่างนี้ จะมี..แต่ก็ไม่ดู มันไม่ตื่นเต้น บางทีเห็นหมอก ๆ เลือน ๆ ลาง ๆ เนี่ย จะไม่ตามรู้ เพราะ ไม่ตื่นเต้น ไม่ประทับใจเหมือนตอนใหม่ ๆ ตอนใหม่ ๆ ทาอะไรก็จะรู้สึก ว่ามันวูบวาบ ๆ เวลาโล่งก็โล่ง มีความสุขก็สุขมาก ๆ ก็เลยรู้สึกตื่นเต้น อยากเป็นเหมือนเดิม อยากเจอสภาวะนั้นเหมือนเดิม พอเจอสภาวะที่