Page 348 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 348

330
แล้วเริ่มเบาขึ้น ก็ไปดูที่ความเบาอีก เบาขึ้นอีก ก็เข้าไปในความเบาอีก เข้าไปในความรู้สึกที่เบา ยิ่งเข้าจิตเรายิ่งเบาขึ้น ให้เข้าไปในจิตที่เบาขึ้น เรื่อย ๆ พร้อมกับสังเกตว่าเมื่อเข้าไปแล้ว เขาเปลี่ยน ค่อย ๆ กว้าง.. ค่อย ๆ กว้าง.. กว้างใหม่.. กว้างใหม่.. หรือเปล่า ? หรือว่านิ่ง ๆ อยู่ แล้ว ค่อย ๆ เลือน.. เลือน..
ทกุ ครงั้ ทเี่ ขา้ ไป เขาจะมกี ารเปลยี่ นแปลง ทเี่ ราไมเ่ หน็ การเปลยี่ นแปลง เพราะว่า.. ที่จริงแล้วเห็น แต่เรารู้สึกว่ามันเปลี่ยนช้ากว่าเดิม หรือเปลี่ยน นิดเดียว เราก็เลยรู้สึกว่าไม่เห็นการเปลี่ยน ที่จริงแม้แต่นิดหนึ่ง เหมือน อะไรกระพริบนิดเดียว บาง ๆ.. นิดหนึ่ง.. นิดหนึ่ง.. ตรงนั้นแหละเขา เริ่มเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้นตรงเห็นอาการกระพริบนิดหนึ่ง เราต้องนิ่ง มากขึ้น ใส่ใจมากขึ้น การที่เรานิ่งและใส่ใจมากขึ้น สมาธิจะเพิ่มขึ้น สติจะ มีกาลังมากขึ้น ปัญญาก็จะเห็นรายละเอียดของอาการนั้นมากขึ้นเอง ตรงนี้แหละต้องใช้หลักอันนี้
ถ้าทาอย่างนี้ สภาวะของเราก็จะเดินหน้าไปเรื่อย ๆ ก้าวหน้าไป เรื่อย ๆ ที่จริงวิธีการปฏิบัติ สภาวธรรมมีไม่มากนะ มีไม่มาก แต่ที่มาก ก็คือความเข้าใจหรือความคิด แต่อานิสงส์มากนะ วิธีปฏิบัติมีไม่มาก แต่อานิสงส์มาก ประโยชน์มาก แต่ว่ามันก็มีแต่ละขั้นตอน แต่ละช่วงว่า เมื่อมีอารมณ์นี้ขึ้นมา เราทาเหมือนเดิมแล้วไม่สามารถเปลี่ยนได้ ควรทา อย่างไร ? เขาก็มีเทคนิค บอกไว้ก่อน อาจารย์ก็บอกไม่ถูก อยู่ที่ว่าสภาวะ ขณะนั้นเกิดขึ้นกับใคร สภาวะเหล่านั้นเกิดขึ้นกับใคร แต่ละคนก็ใช้วิธีการ แตกต่างกันนิดหนึ่ง เพราะว่าถ้ามันยิ่งแตกต่างกัน บางคนใช้คานี้เข้าใจ คาเดียวกันนี้แหละใช้กับอีกคนไม่เข้าใจ ก็จะทาไม่ได้ นิดเดียว..นิดเดียว ก็แค่สภาวะ มันต่างกันตรงนี้
วิธีเพิ่มปัญญา ปัญญาที่พิจารณารู้ถึงอาการเกิดดับ หรือพระ ไตรลักษณ์นั้น วิธีง่าย ๆ คือ ให้น้อมจิตเข้าไปในอาการ อย่างเช่นขณะที่


































































































   346   347   348   349   350