Page 359 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 359

341
แต่พอหาย อาจารย์ว่างไป หลังจากนี้สามวันเริ่มถอยแล้ว ใช่ไหม ? เพราะ ความเพียรเราลดลง การพิจารณาสภาวะน้อยลง เราก็มีข้ออ้างมากขึ้น ใช่ไหม ? มีข้อให้อ้างมากขึ้น ไม่ว่างบ้างล่ะ อย่างนั้นบ้างล่ะ อันนี้บ้างล่ะ ติดโน่นติดนี่ ติดไปหมด กลายเป็นกาว ทาตัวเป็นกาวไปแล้ว อันนั้นก็ติด อันนี้ก็ติด ติดไปหมด เพราะฉะนั้นนี่ติดยังไง
ที่บอกว่าทายังไงเราจะปฏิบัติได้ให้ต่อเนื่อง ? อย่างที่บอกว่าอิริยาบท ย่อยของเราให้ถือเป็นกิจวัตร ให้พิจารณาอยู่เนือง ๆ สภาพจิต ต้นจิต อาการ ตรงนี้ให้สังเกตไปเรื่อย ๆ ตลอดทั้งวัน ไม่ต้องไปกาหนดว่าฉัน ต้องทาให้ได้นะ ก่อนวันนี้ต้องได้เท่านี้ ต้องได้ตลอดเวลา ไม่ต้อง เมื่อรู้แล้ว อาการนั้นเป็นยังไง พอมีสติเข้าไปรู้ อ๋อ..เขาเป็นอย่างนี้ พอเข้าไปรู้อีก เปลี่ยนเป็นอย่างนี้ ดูอีกเป็นอย่างนี้ ดูการเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ ธรรมะเนี่ย ธัมมวิจยะใช่ไหม ? เคยได้ยินไหม ? ธัมมวิจยะคือการสอดส่องธรรม หรือการวิจัยธรรม เพราะฉะนั้นเวลาเรากาหนด จึงไม่ใช่ว่าเขาต้องเป็น อย่างนั้น ให้เข้าไปรู้ว่าต่อจากนี้เขาเป็นอย่างไร เหมือนเราทาวิจัย ผลเขา จะปรากฏเอง
เราทาหน้าที่กาหนด ผลเขาปรากฏเองว่าเป็นอย่างไร ไม่ใช่ว่าเราอยาก ให้เป็นยังไง ที่เราอยากให้เป็นได้ก็คือสิ่งที่ผ่านมาแล้ว เรารู้วิธีทาแล้วเท่านั้น ที่เขาจะเกิดเหมือนเดิมได้ อันใหม่เนี่ยเราต้องวิจัยไปเรื่อย ต้องพิจารณา ไปเรื่อยว่าเขาจะเปลี่ยนยังไง เหมือนอย่างความสุขเนี่ย เราเคยทาให้ เกิดขึ้นแล้ว เราก็อ๋อ..รู้วิธีทาแล้ว อันนี้เราทาได้ เพราะเราวิจัย เห็นผลแล้ว ใช่ไหม ? เราก็สามารถทาอีกซ้าอีกได้ แต่สภาวะที่ยังไม่เคยเกิด เราอยาก ให้เกิดไม่ได้
การยกจิตเหมือนกัน ถ้าเราจะยกจิตขึ้นสู่ความว่าง เราต้องเคยเจอ ความว่างก่อน เราถึงจะยกจิตขึ้นสู่ความว่างได้ เราจะยกจิตขึ้นสู่ความสุข เราต้องเคยเจอความสุขก่อน เราถึงจะยกจิตขึ้นสู่ความสุขได้ การยกจิตขึ้นสู่


































































































   357   358   359   360   361