Page 377 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 377
359
จะเข้ามาถึงตัวทันที อย่างเช่น เวลาเราเจอสิ่งที่มากระทบ เรารู้เรามีสติรู้นะ รู้ว่าเสียงเข้ามาแล้ว แต่ทาไมมันหงุดหงิด ยังโกรธอยู่ ? รู้ไม่ใช่ไม่รู้ รู้ชัดด้วย ว่าอันนี้เริ่มเกิดแล้วนะ เริ่มหงุดหงิดแล้วนะ แต่เราเอาไม่อยู่หรือดับไม่ได้ เพราะเป็นการรู้อย่างสามัญ เขาเรียกสามัญสติ แต่ไม่ใช่โลกุตตรสติ เป็นสติ ที่รู้ตามธรรมดา แต่ไม่ใช่สติที่ไปรู้ถึงการดับทุกข์ หรือป้องกันทุกข์อันนั้น
แต่ถ้าเราเอาจิตที่ว่าง กว้างกว่าอารมณ์เหล่านั้น ถึงแม้กระทบมัน ก็จะกระทบข้างนอก กระทบในความว่างแล้วก็ดับไป นี่จะเป็นโลกุตตรสติ เป็นการรับรู้ที่ไม่มีตัวตน ความทุกข์ไม่เกิดขึ้น รู้แต่ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นสิ่ง ที่เกิดขึ้นทางหู ตา จมูก ลิ้น กาย หรือใจของเรา เกิดกับใจนี่สาคัญ ทางตา พอเราหันไปก็หายแล้ว ตามองไม่เห็น แต่ใจยังเก็บอยู่เลย ใช่ไหม ? พอหัน หลังให้ ตามองไม่เห็น แต่ใจยังแบกเอาไป ยังเก็บอยู่เลย เพราะฉะนั้นทุก ๆ อ า ร ม ณ ท์ เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ไ ป ร ว ม อ ย ท่ ู ใี ่ จ เ ม อื ่ ไ ห ร ท่ เ่ ี ร า ค ว บ ค มุ จ ติ เ ร า ไ ด ้ ห ร อื เ ร า ส า ม า ร ถ ขยายจิตของเราให้กว้างได้ ให้แคบได้ เราก็จะดับอารมณ์น้ันได้ ดับรสชาติ ของอารมณ์น้ันได้
เพราะฉะนั้นความทุกข์ท่ีเกิดข้ึนคือรสชาติของอารมณ์ท่ีเข้ามา ความไม่สบายใจ ความขัดเคืองใจ อารมณ์เหล่านั้นเป็นเหตุปัจจัยอย่างหนึ่ง ให้เกิดอุปาทานการยึดติดมีตัวเรา มีความเป็นเราเกิดขึ้นขณะนั้นนะชั่วขณะ นั้นมีเราเกิดขึ้น มันก็จะหนัก อึดอัด ไม่สบายใจ หงุดหงิดเกิดขึ้น แต่ถ้า ขณะนนั้ ไมม่ เี รา กระทบแลว้ ไมม่ เี ราเปน็ ผรู้ บั มแี ตค่ วามรสู้ กึ ทวี่ า่ งเบาทา หนา้ ที่ รับรู้ สังเกตได้เลย อารมณ์นั้น จิตเราจะรู้สึกสงบ นิ่งเบา ๆ ไม่มีความรู้สึก หงุดหงิด หรือไม่พอใจ เพราะฉะนั้นการฝึกจิตตรงนี้ ถ้าเราอยากให้ชานาญ ทาจิตให้ว่างได้แล้ว เอาไปใช้บ่อย ๆ ไม่จาเป็นต้องรอให้ความทุกข์เกิดก่อน แล้วค่อยใช้สติ
อย่ารอให้ความทุกข์เกิดก่อนแล้วใช้สติ เราจะไม่ทัน ให้ใช้สติบ่อย ๆ เหมือนเราใช้จิตที่ว่างบ่อย ๆ เพื่อป้องกันอารมณ์ที่จะเข้ามาไม่ให้เกิดความ