Page 398 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 398

380
ข้างนอกรู้สึกเบา กลับมาดูที่รูป เข้ามาข้างในรูปแล้วไม่เบา มีอุปาทานเกิดขึ้น แม้ชั่วขณะหนึ่ง ชั่วเสี้ยววินาที ความมีตัวตนเกิดขึ้น
แต่ถ้าความรู้สึกเบา ทาจิตให้เบาแล้วกลับมาที่รูป ให้จิตที่เบานั้น เป็นผู้กลับมา เข้ามาที่รูป รูปก็จะเบาด้วยเหมือนเอาจิตที่เบาไปที่แขน แขน ก็เบา จิตที่เบาไปที่มือ มือก็เบา จิตที่เบาไปที่สมอง สมองก็โล่ง จิตที่เบาไป บริเวณหทยวัตถุ หรือที่ตัวบริเวณหัวใจของเรา ก็จะรู้สึกโปร่ง ๆ โล่ง ๆ ไป ถ้าเป็นจิตที่เบาเข้ามา ก็จะรู้สึกเบา
แต่ถ้าความเบาหายไป รับรู้ธรรมดาปกติ หรือรับรู้อย่างมีตัวตน ความเบาก็หายไป หรือความหนักก็เกิดขึ้นแทน ความหนักเกิดขึ้นเกิดจาก ความมีตัวตน มีตัวตนอย่างหนึ่ง ถ้าหนักใจก็เกิดจากความมีตัวตนแน่นอน ถ้ากายหนัก ใจไม่หนัก อันนั้นเกิดจากเวทนาทางกาย อย่างเช่น เกิดจาก อาการเจ็บไข้ได้ป่วย อันนี้เป็นเรื่องธรรมดา รูปก็จะหนักเป็นเรื่องธรรมดา ซึ่งเป็นลักษณะของอาการธาตุดิน ธาตุดินจะมีน้าหนัก มีอาการแข็ง ๆ มี อาการเคร่งตึงเป็นธาตุลม
เพราะฉะนนั้ ถา้ เราแยกออกวา่ อนั ไหนคอื ความรสู้ กึ อนั ไหนคอื อารมณ์ ภายนอก เราก็จะละหรือปล่อยวางได้ง่าย อันนี้พูดถึงรูป พูดถึงรูป ร่างกาย ของเรา ตัวของเราที่นั่งอยู่ขณะนี้ เดี๋ยวนี้ เมื่อเห็นความเป็นคนละส่วนระหว่าง กายกับใจแล้ว ถ้าเราพิจารณาอารมณ์ภายนอก อย่างเช่นเสียงที่ได้ยิน ไม่ว่า จะเป็นเสียงคน เสียงรถ เสียงอะไรก็ตามที่เกิดขึ้น สังเกตว่าความรู้สึกหรือ จิตที่ทาหน้าที่รู้ กับเสียงนั้น เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน ถ้าจะให้เห็นชัด เราต้องดูที่จิตของเราก่อน ดูที่ความรู้สึก อย่างเช่น ถ้าความรู้สึกเบาขณะที่ ฟังเสียง ก็ให้ความรู้สึกที่เบากว้างกว่าเสียง เมื่อกว้างกว่าเสียง เราก็สังเกต ดูว่า ความรู้สึกกับเสียงเป็นส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วน
ทา ไมเมอื่ รแู้ ลว้ วา่ ความรสู้ กึ ตา่ ง ๆ กบั อารมณเ์ ปน็ คนละสว่ นกนั ทา ไม ต้องพิจารณาแต่ละอารมณ์เป็นเรื่อง ๆ ไป ? ที่ให้ทาอย่างนี้เพราะว่า เมื่อไหร่


































































































   396   397   398   399   400