Page 401 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 401

383
มาทั้งวัน เมื่อได้วางของหนัก เราก็จะรู้ว่าตัวเราเป็นอย่างไร จิตเราเป็น อย่างไร จิตก็เหมือนกัน จิตที่มีการแบก ยึดอารมณ์ต่าง ๆ ที่เข้ามาทางทวาร ทั้ง ๖ จนรู้สึกหนักอึ้ง กับการที่เราปล่อย เราก็จะรู้ได้ว่าความแตกต่างเป็น อย่างไร
วิธีปล่อย ปล่อยแล้วผลที่เกิดกับจิตเรา แน่นอนว่าจะทาให้จิตเรา รู้สึกอิสระ รู้สึกโปร่ง โล่ง เบา ไม่ต้องแบกอะไร นั่นแหละเป็นสิ่งที่ถูกต้อง เพราะฉะนนั้ เมอื่ โลง่ เบา จงึ บอกวา่ ใหด้ เู ขา้ ไปในจติ อกี ที เราพสิ จู น์ ทา ซา้ ๆ ได้ ไม่แน่ใจ ไม่มั่นใจ ให้ทาซ้า ทาซ้า ไม่ควรที่ว่า “น่าจะ” น่าจะเป็นอย่างนั้น น่าจะเป็นอย่างนี้ ธรรมะที่เราปฏิบัติต้องรู้สึกได้ทันที รู้สึกขณะนี้ เดี๋ยวนี้ทันที ว่ารู้สึกอย่างไร เป็นอย่างไร อันนี้เป็นการทาจิตให้ว่างเป็นเบื้องต้น
เมื่อจิตว่าง จิตโล่ง จิตโปร่ง จิตเบาแล้ว ต่อไปก็มาดูกายในกาย ดูกาย ในกายคือ ดูที่รูปเรา ถ้าไม่มีรูป พอมาดูที่รูป รูปหายไป รูปว่างโล่ง ไม่มีอะไร เลย กลายเป็นที่ว่างเปล่าเท่านั้นเอง เหลือแต่ความว่าง ๆ ก็ให้ดูในความว่าง ที่รูปนั่นแหละ ว่ามีอาการอะไรปรากฏขึ้นมา มีเวทนา มีแสง มีสี มีความคิด อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ปรากฏขนึ้ มา ไมว่ า่ จะเปน็ อารมณไ์ หนขนึ้ มากต็ าม ใหเ้ อาจติ หรือความรู้สึกนี้ ตามรู้อาการเกิดดับหรือเปลี่ยนแปลงนั้นไป รู้ให้ชัด ทุก ๆ อาการ ทุก ๆ สภาวะที่เกิดขึ้น ที่เราเห็นอยู่
ไม่ว่าจะเป็นเวทนาหรือความคิด ต้องรู้ก่อนเสมอว่า เวทนากับความ รู้สึกที่ทาหน้าที่รู้ เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน ความคิดที่เกิดขึ้นกับ ความรู้สึกหรือจิตที่ทาหน้าที่รู้ว่าคิด เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน จากนั้น จึงไปรู้ว่าเวทนาที่เกิดขึ้นนั้น เกิดดับในลักษณะอย่างไร และความคิดที่เกิด ขึ้น เกิดดับในลักษณะอย่างไร นี่คือการกาหนดรู้ถึงความเป็นคนละส่วน ใน แต่ละขณะ ในแต่ละอารมณ์ ให้กาหนดรู้ในลักษณะอย่างนี้ กาหนดรู้บ่อย ๆ กาหนดรู้เนืองๆ
การกาหนดรู้บ่อย ๆ เนือง ๆ ทาให้เราเกิดความชานาญ ทาให้เรา


































































































   399   400   401   402   403