Page 479 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 479

461
อย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น เมื่อเป็นอย่างนั้น ทายังไง ? ก็ทาแบบเดียวกันนั่นแหละ มีสติเข้าไปรู้ว่า แสงที่เกิดขึ้น เขาเปลี่ยนหายแบบไหน ? สว่างแล้วดับ อย่างไร ? จางไป บางไป เลือนไป เบาไป หรือว่าแวบหาย หรือแวบกระจาย แวบกระจาย ?
ตรงนี้เขาเรียกว่า “สภาวธรรมที่เกิดขึ้น” ดูกายในกาย คือดูลมหายใจ เข้าออก ดูเวทนา คือดูความปวด อาการเมื่อย อาการชา อาการคัน แล้ว ก็ดูจิต ก็คือดูความคิดที่เกิดขึ้น ความคิดอาศัยจิตเกิด เพราะฉะนั้น เราก็ สังเกตว่า ความคิดที่เกิดขึ้นมา เขาเปลี่ยนอย่างไร ดับอย่างไร หายอย่างไร ? ไม่ต้องบังคับเลย แล้วก็ดูธรรมในธรรม อย่างที่บอกแล้วว่า อาการที่เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนอย่างไร ? มีความสลัว ความสว่าง ความหนัก ความเบา ความ สงบ... เหล่านี้ เราก็เข้าไปรู้ ดูว่าเขาเปลี่ยนอย่างไร ?
ให้ “พอใจที่จะรู้ โดยไม่ต้องบังคับ” ถ้าเมื่อไหร่ก็ตามที่เราฝืน แล้ว เข้าไปบังคับเขา เราก็จะรู้สึกไม่ดี รู้สึกหนัก รู้สึกอึดอัด รู้สึกกระสับกระส่าย ทาไมถึงเป็นอย่างนั้น ? เพราะบางอย่างเราไปบังคับไม่ได้ เรามีหน้าที่เป็น เพียง “ผู้กาหนดรู้” ถึงธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับกาย กับจิตของเรา เขาเรียก “เป็นอาการของรูปนามที่เป็นไป” ดูธรรมชาติของกาย ของจิต ว่าเขาทางาน อย่างไร ? เปลี่ยนไปอย่างไร ? มีการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อย่างไร ?
ถามว่า เราดูการเปลี่ยนแปลงตรงนี้ เราจะได้อะไร ? เราปฏิบัติธรรม สตขิ องเรากจ็ ะดขี นึ้ สมาธกิ จ็ ะดขี นึ้ ปญั ญากจ็ ะเกดิ ขนึ้ ปญั ญาทรี่ ถู้ งึ ธรรมชาติ ของกายของจิตเรา ที่บอกว่าเป็นของไม่เที่ยง มีการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปอยู่ เนือง ๆ ไม่มีอะไรเลยเป็นของเรา พระพุทธเจ้าตรัสว่า รูปนามขันธ์ ๕ กาย ใจเรา ล้วนตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ คือ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป รูป คือ ร่างกายนี่แหละร่างกายที่เป็นอยู่นี้ กับรูปภายใน เวทนาที่เกิดขึ้น เจ็บปวด เมื่อย ชา คัน รู้สึกดี ไม่ดี รู้สึกสุข หรือทุกข์เกิดขึ้น ตรงนั้นเป็นเวทนาอย่าง


































































































   477   478   479   480   481