Page 494 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 494
476
แต่ขณะ แล้วแต่กาลังของสติเรา แต่สิ่งที่เราต้องทาคือ ต้องใส่ใจกาหนดรู้ สังเกตให้เห็นชัดว่าเขาเป็นแบบนั้น อันนี้อย่างหนึ่ง
และอกี อยา่ งหนงึ่ นอกจากการกา หนดรถู้ งึ การเปลยี่ นแปลง ถงึ อาการ เกิดดับแล้ว บางทีโยคีจะมัวมุ่งดูแต่ว่าจะเห็นมันดับอย่างไร ต่างกันอย่างไร หาความต่างอย่างเดียว ไม่เห็นมันต่างสักที บางครั้งก็ชัด บางครั้งก็เบา ไม่ เห็นมันต่างสักที! “ชัด” กับ “เบา” ไม่ต่างกันตรงไหน ? เพียงแต่ว่าเขาเกิด ซ้า ๆ เลยไม่รู้สึกว่าต่างกัน เหมือนกับซ้าเหมือนเมื่อวานอีกแล้ว ไม่เห็น ต่างเลย แต่ในบัลลังก์เดียวก็มีความต่างอยู่ในตัว ต่างอย่างไร ? เดี๋ยวชัด เดี๋ยวไม่ชัด
ทีนี้สิ่งที่ต้องสังเกตคือ เรากาหนดอย่างไรอาการเกิดดับนั้นถึงชัด ? และที่ว่าไม่ชัดนี่ เขาไม่ชัดหรือว่าเขาเบาลง ? คาว่า “ไม่ชัด” กับ “เบาลง” มัน ต่างกันตรงที่ว่า ถึงแม้อาการนั้นเบาลงบางลง แต่ “รู้ชัด” ว่าเขาบางและเบา กับขณะที่อาการนั้นบางเบา สติอ่อนลงไปด้วย อันนั้นล่ะไม่ชัด ไม่ดี! อย่างเรา เห็นจุดเล็ก ๆ อยู่ไกล ๆ แต่เห็นชัดเลยว่าเขาเป็นจุดเล็ก ๆ ใส ๆ กับอาการ ที่ไม่ค่อยชัด พร่า ๆ หรือมีหมอกบัง มีอาการเลือน ๆ มัว ๆ คือเราเห็นชัด แต่เล็ก กับใหญ่แต่ไม่ชัดเจน เพราะฉะนั้น ถึงแม้อาการนั้นจะบางเบาแค่ไหน ก็ตาม ให้รู้ชัดตามที่เขาเป็น เพราะการรู้ชัดทุกครั้ง เราจะมีสติสัมปชัญญะ จิตตรงนั้นมีความตื่นตัว มีความตั้งมั่นในตัวเอง ไม่ใช่แค่สักแต่ว่ารู้ห่าง ๆ หรือดูแบบจิตไม่ตั้งมั่น อันนี้อย่างหนึ่ง
อีกอย่างหนึ่งก็คือ “สภาพจิตใจ” ของเราเป็นอย่างไร ? ที่ถามว่า ดู สภาพจิตไหม ? สภาพจิตเปลี่ยนอย่างไรบ้าง ? วันนี้สภาพจิตเป็นอย่างไร ? เพราะอะไรจึงต้องรู้สภาพจิตควบคู่ไปกับอาการเกิดดับอยู่เสมอ ? การปฏิบัติ ของเรา ที่เราตามรู้อาการเกิดดับของทุก ๆ อารมณ์ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ที่เกิดกับใจของเรา หรือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็น ไปเพื่ออะไร ? ทาไมเราต้องปฏิบัติด้วย ?