Page 52 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 52
34
มากแค่ไหน แล้วถ้าเรากาหนดรู้ ให้จิตเราไปที่ “จุดเกิด” ของอารมณ์ ให้ อารมณ์เหล่านั้น “เกิดที่ไหนดับที่นั่น” ลองดูว่า จิตเรารู้สึกอย่างไร ?
ขณะที่ได้เสียงอาจารย์พูด ให้จิตเรากว้าง ๆ แล้วส่งจิตเราไปที่เสียง แล้วสังเกตดูว่า ขณะที่ได้ยินเสียง เสียงดังเข้ามาที่หู หรืออยู่ในที่ว่าง ๆ ? อยู่ ในที่ว่าง ๆ เขาเกิดที่ไหนดับตรงนั้น เข้าถึงใจเราไหม ? เข้าไม่ถึงใจนะ เห็น ไหม ตรงนี้เสียงเหล่านี้ อาจารย์ยกเพียงตัวอย่างว่าเป็นเสียงของอาจารย์ ถ้า เรากลับไปบ้าน เสียงคนรอบข้างนี่ เวลาเขาพูด เราก็เอาจิตเราไปตรงนั้นแหละ ไปที่ปากเขา อย่าไว้ที่หูเรา ไม่ต้องเอามาไว้ที่หูเรา เดี๋ยวก็แสบแก้วหู ลองดูสิ ใช่ไหม ?
ปกติก็คือ โดยธรรมชาติของคนเรารับรู้อะไรก็ตาม อารมณ์เหล่านั้น จะพุ่งเข้ามาหาตัวตลอดเวลา แม้แต่ทางตาก็ยังเข้าถึงใจ ทางหูก็เข้าถึงใจ มัน จะพุ่งเข้ามาและรับรู้อยู่ตรงนี้ เมื่อไหร่ก็ตามที่อารมณ์เข้ามาถึงตัว ตัวตนก็จะ เกิดง่าย กิเลสเกิดง่าย อารมณ์ก็จะเกิดง่าย เพราะฉะนั้น การทาจิตให้ว่าง ที่ บอกการรบั รแู้ บบนี้ รแู้ บบใหจ้ ติ เรากวา้ งกวา่ อารมณ์ ถามวา่ เอาไปใชป้ ระโยชน์ อะไรได้บ้าง ? ใช้ได้กับทุก ๆ อารมณ์ ถ้าใครใช้ได้กับทุกอารมณ์ก็ถือว่า เก่ง เพราะอะไร ? เราทาได้เป็นระยะ ๆ เป็นขณะ ๆ แต่ถ้าขณะที่ทาได้ ทาได้บ่อยขึ้น บ่อยขึ้น ถี่ขึ้น ถี่ขึ้น ก็ถือว่าพัฒนาขึ้น เพราะฉะนั้น การใช้จิต ที่ว่างรับรู้อารมณ์ เราสามารถใช้ได้กับทุก ๆ อารมณ์
อีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เวลาเราปฏิบัติ จะมีคาหนึ่งเขาเรียกว่า “เจาะ สภาวะ” การเจาะสภาวะ หมายความว่ายังไง ? หมายความว่า เวลาเรากาหนด สภาวะหรืออารมณ์ที่เกิดขึ้น ให้เน้นไปที่ “อาการเกิดดับ” ของอารมณ์นั้น ๆ เป็นหลัก เน้นไปที่อาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเป็นหลัก อย่าง เช่น ลมหายใจที่เกิดขึ้นหรืออาการพองยุบที่เราหายใจเข้าออก พองหนอยุบ หนอ พองขึ้นยุบลง พองขึ้นยุบลง ให้มีสติมุ่งเข้าไปที่อาการพองยุบแล้ว สังเกตว่า อาการพองยุบเกิดดับยังไง เน้น “รู้อาการเกิดดับ” อย่างเดียว จน