Page 19 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 19

แสดงว่าวาบมาต้องจับทันเลย จับถูกแล้วก็ดับ แต่นี่วาบแล้วก็หาย ถามว่า แล้วเสียงนั้นตั้งอยู่นานไหม ? มันวาบแล้วก็หายไปเลย ถ้าไม่ทัน แลว้ บอกไดอ้ ยา่ งไรวา่ วาบแลว้ หายไปเลย นเี่ ปน็ เพยี งแคค่ วามเขา้ ใจผดิ วา่ ถา้ ทนั มนั ตอ้ งจบั ถกู แตข่ ณะทมี่ บี รรยากาศรองรบั สตเิ ราไว เขาจะรสู้ กึ ได้ ทันที จิตวับไป บางครั้งเสียงดังมาก ๆ ตึ้ง! เห็นจิตถูกกระชากวื้ดออกไป แล้วก็ดับไป พอดับปุ๊บ จิตกลับมานิ่งใหม่ นั่นคือเรารู้สึกได้ทันที ไม่ต้อง ไปวิ่งตาม ตรงนี้คือเห็นแล้วว่าเขาเกิดแบบนี้ดับแบบนี้ เพียงแต่ว่าเขาไม่ได้ เกิดต่อเนื่องตลอด ตรงนี้จัดเป็นสภาวะ อันนี้เขาเรียกว่ารู้สึกหรือเห็นได้ ว่ามีอารมณ์จรแทรกเข้ามาแล้ว ในอิริยาบถย่อย ขณะที่ดูสภาพจิต มี บรรยากาศรองรับ เวลามีอารมณ์จรแทรกเข้ามา เดี๋ยวนี้เขามีอาการพุ่ง เข้ามาแบบใส ๆ แล้วดับไป พุ่งมาแล้วก็ดับไป... หรือมีอาการกระชากจิต ตึ้ง! แล้วกระชากจิตออกไป แล้วดับหายไป อันนี้คือเราบอกได้ รู้สึกได้ ทันที นั่นคือสภาวธรรมที่เกิดขึ้น พอเสียงที่เป็นอารมณ์จรหมดไป กลับ มารู้อิริยาบถที่เรากาลังทาอยู่ จะเคลื่อนไหว จะทาอะไรก็ตาม สังเกตว่า เขาเกิดดับอย่างไรต่อไป
ทีนี้อีกจุดหนึ่ง เวลาทานอาหาร อย่าสร้างอิริยาบถย่อยเกินจาเป็น บางทีโยคีก็สร้างอิริยาบถย่อยเกินจาเป็น แค่เคี้ยวก็กาหนดไม่ทันแล้ว ยัง จะพดู อกี ! แนใ่ จนะวา่ กา หนดทนั เวลานา้ ลายกระเดน็ ? คยุ กบั เพอื่ น พดู ๆ ไปพูดเพลิน กระจายไป... เมื่อก่อนท่านแม่ครูเคยสอนกาหนดอิริยาบถย่อย เวลาเคี้ยวอาหาร สังเกตไหมว่า ที่เขาบอกว่า ให้มีสติกาหนดรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์... ทาไมจึงให้มีสติกาหนดเวลาลิ้นสัมผัสรส กาหนดเพื่ออะไร ? มีอยู่สองส่วน หนึ่ง เจตนาเพื่อไม่ติดในรส ไม่ใช่เพื่อ ไม่รู้รส เพราะลิ้นอย่างไรก็ทาหน้าที่รับรส จิตก็ทาหน้าที่รู้รส เป็นปัจจัย
13
































































































   17   18   19   20   21