Page 22 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 22

16
กว่าเดิม มีความใสมากกว่าเดิม แล้วลองพิจารณาดูว่า จิตที่ใสขึ้น สว่างขึ้น จิตดวงนั้นประกอบด้วยกิเลสไหม จิตดวงใหม่ที่เกิดขึ้นมานั้นเกิดขึ้นจาก ความยินดีในรสชาติ หรือว่าเกิดขึ้นจากการเห็นการดับของรสชาติ นี่คือ การกาหนดอาการในอิริยาบถย่อยขณะที่เคี้ยว ถามว่า ต้องเคี้ยวช้าแค่ไหน ลองสังเกตว่าที่พูดมานี่ละเอียดแค่ไหน เคี้ยวแต่ละคา ไม่ต้องช้าเกินเร็วเกิน
เมื่อไหร่ที่มีบรรยากาศรองรับ เมื่อกี้ที่อาจารย์บอกว่าให้เอาความว่าง มาไว้ที่ปาก แล้วเวลาเรากลืน กลืนลงไปที่ไหน ที่คอ ที่กระเพาะ หรือ ลงไปในทวี่ า่ ง ๆ ? ลองกลนื นา้ ลายดสู ิ พอเอาความวา่ งมาไวบ้ รเิ วณทปี่ าก ที่คอ กลืนลงไปแล้วเห็นอะไร ? อาการเหล่านี้ลงไปในที่ว่าง ๆ แล้วทาไม เราถึงต้องอย่างนั้นอย่างนี้ ทาให้รู้สึกว่าชีวิตเราวุ่นวายมากเลย ทั้งที่กลืน เข้าไปก็ว่างไป แต่การพิจารณารู้รสชาติที่เกิดขึ้นอย่างหน่ึงก็คือว่า รสบางรส ไม่เป็นคุณต่อร่างกายเรา สังเกตว่า อะไรที่เข้าไปแล้วมีผลกระทบต่อ รูปนี้อย่างไร ดีไม่ดีอย่างไร เราพิจารณา ทาให้เราละเอียดขึ้นในตัว จะเป็น คนที่มีปัญญา รู้จักสังเกตผลกระทบที่เกิดขึ้น เราจะรู้สึกไวขึ้นว่าเราทาน อะไรเข้าไปแล้วแพ้ อันนี้อย่างหนึ่ง แต่ประเด็นสาคัญก็คือ การกาหนดรู้ เพื่อไม่ติดในรสชาติ ถ้าเห็นรสนั้นปรากฏอยู่ในที่ว่าง ๆ พอกลืนลงไป เขา หายไปในที่ว่าง ๆ อันนี้เพื่ออะไร ? ในกรณีที่รสชาติบางอย่างที่เรารู้สึก ว่าไม่ชอบเลย แต่จาเป็น โดยเฉพาะยา เรารู้สึกว่ายามันขม จะกลืนก็ยาก ลองใช้ความรู้สึกที่ว่าง ไม่มีตัวตน แล้วกลืนลงไปในที่ว่าง ๆ แต่อาหารนี้ สาคัญ เพราะเป็นสิ่งที่จาเป็นเพื่อรักษารูป รักษาร่างกายให้แข็งแรง เพื่อให้ มีกาลังในการดารงอยู่เพื่อการทาความดีต่อไป เพราะฉะนั้น เวลาอาหาร ถูกปากบ้างไม่ถูกปากบ้าง ใช้ความว่างเข้าไป
































































































   20   21   22   23   24