Page 23 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 23

ทีนี้อย่างที่บอกแล้ว อาจารย์พูดข้ามไปเมื่อกี้นี้ก็คือว่า ถ้าเราทาน แล้วมีความสุข นั่นไม่ใช่แค่อาหารกายแล้ว เราจะได้ทั้งอาหารกายพร้อม กบั อาหารใจหรอื อาหารจติ ของเรา เคยี้ วไปดว้ ยความวา่ ง แลว้ เตมิ ความสขุ เคยี้ วอยบู่ นความสขุ ดว้ ยการเอาจติ ทวี่ า่ ง แทนทจี่ ะเปน็ วา่ ง ๆ อยา่ งเดยี ว แตเ่ ปน็ จติ ทวี่ า่ งแลว้ มคี วามสขุ มคี วามนมุ่ นวลในตวั ไปรบั รกู้ ารเคยี้ ว กจ็ ะ เคยี้ วถกู ทงั้ อาหาร เคยี้ วถกู ความนมุ่ นวล เคยี้ วถกู ความสขุ ดว้ ย แลว้ กลนื ลงไปพร้อมกัน ถ้าทาแบบนั้น รสชาติอาหารนี่ไม่สาคัญเลย กลายเป็นว่า เหลือแต่สาระของอาหาร คือประโยชน์ของอาหารที่เราสนใจรับเข้าไป การเคี้ยวถูกความสุขแล้วกลืนความสุขเข้าไป ที่บอกว่าได้สองอย่าง คือ จิตก็มีพลังขึ้น รูปก็แข็งแรง มีความสุขขึ้นมา ถ้าเราเคี้ยวอย่างละเอียด เคี้ยวด้วยความสุข เคี้ยวไป ๆ เคี้ยวถูกความสุข แล้วกลืนความสุขลงไป ในตวั ลงไปในใจ ลงไปในทอ้ งของเรา ลองดสู วิ า่ ถา้ เรากลนื ความสขุ ลงไป เรื่อย ๆ รูปนี้รู้สึกเป็นอย่างไร ? ทาให้ความสุขนี้เต็มข้างในรูปเรา แล้วก็ ล้นออกมาได้ สังเกตว่า ความสุขเต็มข้างในรูป แล้วล้นจากรูปได้ แต่ อาหารล้นรูปไม่ได้... ล้นรูปไม่ได้หรอก ถ้าล้นก็น่าดูแหละ!
เพราะฉะนั้น การกาหนดรู้อาการในอิริยาบถย่อยเป็นสิ่งสาคัญ ประโยชน์เกิดขึ้นมากมาย เมื่อกาหนดอาการในอิริยาบถย่อย จิตก็จะ อยู่กับสมาธิ จะมีความสารวมในตัว เราจะมีการสารวมกาย แล้วก็สารวม สายตาของเรา เวลาตักอาหาร ตักแต่ละครั้ง มีสติรู้ เวลาใส่เข้าปาก เคี้ยว กลืนลงไป ก็มีสติตามกาหนดรู้อยู่เนือง ๆ เวลาจะหันซ้ายหันขวา ลอง สงั เกตดู ถา้ กา หนดแบบนี้ อากปั กริ ยิ าอาการของเราจะมคี วามสา รวมระวงั พอมีความสารวมระวัง ทั้งสติ สมาธิ และปัญญาก็เกิดขึ้นมา ไม่ใช่แค่เรา ระวัง หรือแค่มีสติรู้อยู่กับปัจจุบัน สังเกตไหมว่า ที่พูดมาทั้งหมด ไม่ได้
17
































































































   21   22   23   24   25