Page 40 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 40

34
อยา่ งไร ตรงนเี้ ปน็ วธิ กี ารพฒั นาปญั ญา ปญั ญาจะเกดิ ขนึ้ มาดว้ ยการใสใ่ จ สังเกต กาหนดรู้ ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ ตรงนี้แหละเขาเรียกว่าปัญญา
ปัญญาตรงนี้เรารู้อะไร ? รู้ถึงกฎธรรมชาติที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป หรือความเป็นอนิจจัง ไม่เที่ยง เปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา เกิดขึ้นแล้วต้องดับ ไม่ดับไม่มี อะไรก็ตามเกิดขึ้นแล้วก็ดับไป แลว้ บงั คบั ใหเ้ ปน็ อยอู่ ยา่ งนนั้ ตลอดกไ็ มไ่ ด้ บงั คบั ใหเ้ หมอื นเดมิ ตลอดไมไ่ ด้ เหมือนลมหายใจเรา จะบังคับให้ยาวเท่าเดิมตลอดไม่ได้ เขาก็เปลี่ยน เดยี๋ วยาวบา้ ง เดยี๋ วสนั้ บา้ ง เดยี๋ วเบาไป แลว้ จะใหเ้ หน็ ชดั ตลอดเวลากไ็ มไ่ ด้ เดี๋ยวเขาก็เปลี่ยนไป นี่คือธรรมชาติที่เกิดขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นก็คือว่า การที่เราฝึกสนใจอาการของลมหายใจ จะเกิดความรู้สึกว่าเป็นการอาศัย ธรรมชาติ เป็นการอาศัยสิ่งที่มีอยู่แล้ว จึงเป็นอารมณ์ที่เราไม่ต้องแสวงหา ไม่ต้องไปปรุงแต่งขึ้นมา ไม่ต้องสร้างขึ้นมา ทุกคนเกิดขึ้นมามีชีวิตก็มี ลมหายใจ อาการทางกายมอี ยู่ จรงิ ๆ แลว้ ไมใ่ ชล่ มหายใจอยา่ งเดยี ว นคี่ อื ยกตัวอย่างอาการทางกาย บางคนดูลมหายใจเข้า-ออก แต่ชัดที่ท้อง เคลื่อนไหว บางคนชัดตั้งแต่จมูกจนถึงท้อง แต่อย่างไรก็คืออาการ ของลมหายใจ เพราะฉะนนั้ การดลู มหายใจแบบนี้ เปน็ การกา หนดรอู้ าการ ทางกายในเบื้องต้น อันนี้คือ “กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน” คือการกาหนดรู้ อาศัยอาการทางกาย
ทีนี้อาการทางกายท่ีเกิดขึ้นนั้น แต่ละคนก็ชัดไม่เหมือนกัน บางคน เป็นลมหายใจ บางคนเป็นอาการพองยุบ ก็คือบางคนเวลาหายใจเข้า ไม่ได้ลงที่ท้อง วื้ดขึ้น-ลง ๆ ที่หน้าอก แต่บางคนหายใจเข้า ตรงหน้าอก ไม่ขยับ ไปขยับที่ท้อง เขาจึงเรียกว่า “พองยุบ” เพราะฉะนั้น อาการที่ชัด ไม่เหมือนกันทุกคน แต่นั่นก็คืออาการทางกาย และการกาหนดรู้แบบนี้































































































   38   39   40   41   42