Page 41 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 41
จะได้เห็นว่า จิตที่ทาหน้าที่ตามรู้ กับ อาการ เขาเป็นส่วนเดียวกันหรือ คนละส่วนกัน ตรงนี้จะต้องมีหลักให้กับตนเอง ถ้าไม่งั้นก็ไม่รู้ว่าจะไปดูอะไร และที่สาคัญก็คือว่า ถามทุกคน ส่วนใหญ่ก็จะบอกว่านี่คือเรา ตัวที่นั่งอยู่ นี่แหละคือตัวเราของเรา มีใครบ้างบอกว่าตัวนี้ไม่ใช่เรา ? น้อยมากเลย! นี่คือธรรมชาติ การที่ผู้ปฏิบัติตามรู้การเปลี่ยนแปลงของลมหายใจ เข้า-ออก แล้วเห็นจิตมันว่างขึ้น เบาขึ้น โล่งขึ้น สงบขึ้น ตัวหายไป ตรงนี้เป็นคาตอบว่าตัวบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ที่เคยบอกว่าตัวนี้เป็นของเรา หาดูสิ ความเป็นเราอยู่ตรงไหน... ที่แขน ที่ตา ที่หัว ที่จมูก ที่กาย ที่ใจ ตรงไหนที่บอกว่าเป็นเรา ? ตรงนี้ผู้ปฏิบัติจะเห็นสภาวะที่เกิดขึ้นเองโดย ปริยาย จึงต้องพิจารณาจริง ๆ และนี่คือเหตุผลว่าทาไมเราต้องรู้อาการ ทางกาย
แล้วเมื่อสติ-สมาธิมีกาลังมากขึ้น ตรงที่ผู้ปฏิบัติสังเกตการ เปลยี่ นแปลง การเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่ ดบั ไปนแี่ หละ ตรงนปี้ ญั ญาทเี่ หน็ ถงึ ความจรงิ ที่บอกว่า เป็นอนัตตาหรือเป็นของว่างเปล่า ไม่ควรไปยึดว่าเป็นตัวเรา ของเรา ความหมายที่พระพุทธเจ้าตรัสนี้กว้างมาก พระพุทธเจ้าบอกว่า ความจริงเป็นอย่างนี้ ทาไมพระองค์ถึงสงบและอิสระ ? เพราะพระองค์ เขา้ ใจรแู้ ลว้ วา่ นเี่ ปน็ ธรรมชาติ เปน็ สจั ธรรม “เรารจู้ กั เจา้ เสยี แลว้ เจา้ จะสรา้ ง เรอื นใหเ้ ราไมไ่ ดอ้ กี ตอ่ ไป” แลว้ พระองคก์ เ็ อาธรรมะมาบอกใหเ้ ราพจิ ารณา ทุกขั้นตอนที่เราฝึกกาหนดรู้แบบนี้ ถ้าการรู้เบื้องต้นเราเข้าใจชัดเจน เมื่อ สต-ิ สมาธแิ กก่ ลา้ ขนึ้ มกี า ลงั มากขนึ้ อกี เราจะเขา้ ใจลกึ ซงึ้ ในสงิ่ ทเี่ ราไดเ้ หน็ มาแล้ว และจะเข้าใจได้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ใช่แค่ว่า อ๋อ! เคย เห็นแล้ว ๆ ไม่ใช่แค่นั้น! เพราะสิ่งที่เราเห็นในแต่ละระดับของสติ-สมาธิ ทมี่ กี า ลงั มากขนึ้ เขาจะมคี วามแยบคายออกไป แมแ้ ตก่ ารกา หนดรตู้ น้ จติ
35